Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2640
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhichamol LAOCHAIen
dc.contributorพิชามญชุ์ ลาวชัยth
dc.contributor.advisorSangaun Inraken
dc.contributor.advisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:55:52Z-
dc.date.available2020-08-14T02:55:52Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2640-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1) the administrator competencies in school under Samutsongkhram primary educational service area office 2) the personnel administration in school under Samutsongkhram primary educational service area office 3) the relationship between the administrator competencies and personnel administration in school under Samutsongkhram primary educational service area office. The samples were 63 school under Samutsongkhram primary educational service area office. The respondents in each school consisted of 3 respondents: school director, a head of personal division and teacher with the total of 189 respondents. The instrument was a questionnaire concerning administrator competencies based on Hellriegel, Jackson, and Slocum’s concept and personnel administration on Castetter’s concept. The statistic were to analyze data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product-moment correlation coefficient. The results found that: 1.The administrator competencies in school under Samutsongkhram primary educational service area office as a whole and each aspects were at a high level. Ranking level with arithmetic mean from the highest to the lowest were; self-management competency, global awareness competency, teamwork competency, communication competency, planning and administration competency and strategic action competency. 2. The personnel administration in school under Samutsongkhram primary educational service area office as a whole and each aspects were at a high level. Ranking level with arithmetic mean from the highest to the lowest were; bargaining, information, continuity, justice, manpower planning, compensation, appraisal, development, recruitment, induction and selection. 3. Relation between the administrator competencies and personnel administration of in school under Samutsongkhram primary educational service area office was related with a statistically significant at .01 level. en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงครามใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงพรรณนา(descriptive research) มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อทราบ 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม 2) การบริหารงานบุคคลสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม  1.กลุ่มตัวอย่างได้แก่ จำนวนทั้งสิ้น 62 โรง โดยใช้สถานศึกษาเป็นหน่วยวิเคราะห์ (unit of analysis)  และกำหนดผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 3 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรักษาราชการแทน  จำนวน  1 คน ครูผู้ทำหน้าที่หัวหน้างานฝ่ายบุคคล  จำนวน 1 คน ครู จำนวน 1 คน  รวมผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 186 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้บริหารในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงครามตามแนวคิดของเฮลรีเกล, แจ็คสัน และสโลคัม (Hellriegel, Jackson, and Slocum) และ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลตามแนวคิดของคาสเต็ทเตอร์ (Castetter) นำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ(%) ค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product-moment correlation coefficient) สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจัย”สมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม” สรุปได้ดังนี้ 1. สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม  โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย ได้แก่ สมรรถนะในการบริหารตนเอง  สมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ สมรรถนะการทำงานเป็นทีม สมรรถนะในการสื่อสาร สมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ และสมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ 2. การบริหารงานบุคคลสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย ได้แก่ การเจรจาต่อรอง  การให้ข้อมูลข่าวสาร การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง  การให้ความยุติธรรม ความมั่นคงในงาน การวางแผนกำลังคน การให้ค่าตอบแทนหรือสิ่งจูงใจ การประเมินผลการปฏิบัติงาน  การพัฒนา การสรรหา การนำเข้าสู่หน่วยงาน และการคัดเลือก 3. สมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม ในภาพรวมมีความสัมพันธ์คล้อยตามกันในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสมรรถนะของผู้บริหาร/การบริหารงานบุคคลth
dc.subjectADMINISTRATOR COMPETENCY/ PERSONNEL ADMINISTRATIONen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE  ADMINISTRATOR  COMPETENCY  AND  PERSONNELADMINISTRATION  IN  SCHOOLS  UNDER SAMUTSONGKHRAM  PRIMARY EDUCATIONAL  SERVICE AREA  OFFICEen
dc.titleสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงครามth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252336.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.