Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2705
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nisakorn CHIMMEE | en |
dc.contributor | นิสากรณ์ ฉิมมี | th |
dc.contributor.advisor | KANLAYA TIENWONG | en |
dc.contributor.advisor | กัลยา เทียนวงศ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T02:56:03Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T02:56:03Z | - |
dc.date.issued | 10/7/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2705 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) compare the learning outcomes of Matthayomsuksa 4 students before and after studying community based learning method 2) study opinions of Matthayomsuksa 4 students towards community based learning and 3) study the student’s pride for their local community. The samples of this research consisted of 35 of Matthayom 4/1 studying at the first semester during the academic year 2019 in Nawamintrachinuthit Benchamarachalai school. The instruments used in the study were 1) lesson plans 2) the learning outcomes test 3) a questionnaire on the opinions of students towards community based learning and 4) the interview of the pride for their local community. The data were analyzed by mean (X), standard deviationand (S.D.), t-test for dependent and content analysis. The research results revealed that: 1. The learning outcomes of Matthayomsuksa 4 students after the use of community based learning were higher than before the use of community based learning with statistical significance at the level of 0.05. 2. The opinions of matthayomsuksa 4 students towards community based learning were high level concluded as follows: (1) benefits of learning (2) learning activities and (3) learning environments. 3. The pride of local community of matthayomsuksa 4 after studying community based learning. They were pround to be born in the community with a history of ancestral migration, community unity and peaceful cohabitation because of ethnic diversity. In this learning management, students will be able to continue and conserve the culture of Mon Khlong Sam Wa and disseminate information for society from what the experiences they have obtained. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่อง วิถีมอญคลองสามวา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และ 3) ศึกษาความภาคภูมิใจในชุมชนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ด้วยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนนวมิน ทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่องวิถีมอญคลองสามวา 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน และ 4) แบบสัมภาษณ์ความภาคภูมิใจในชุมชน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการเรียนรู้ เรื่อง วิถีมอญคลองสามวา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X= 4.36, S.D. = 0.56) โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านบรรยากาศในการเรียน ตามลำดับ 3. ความภาคภูมิใจในชุมชน พบว่ามีความภาคภูมิใจที่ตนเองได้เกิดมาในชุมชนที่มีประวัติศาสตร์ของการอพยพของบรรพบุรุษ ชุมชนมีความพหุสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข แม้มีความหลากหลายชาติพันธุ์ ในการจัดการเรียนครั้งนี้นักเรียนได้รับประโยชน์เพื่อสามารถจะนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตสืบต่อวัฒนธรรมของมอญคลองสามวาต่อไป และนำข้อมูลที่ได้จากการเรียนไปเผยแพร่ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน | th |
dc.subject | วิถีมอญคลองสามวา | th |
dc.subject | COMMUNITY BASE LEARNING | en |
dc.subject | MON KHLONG SAM WA TRADITION | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE LEARNING DEVELOPMENT OF ADDITIONAL COURSE ON MON KLONG SAM WA TRADITION BY USING COMMUNITY BASED LEARNING MANAGEMENT FOR MATTAYOMSUKSA 4 STUDENTS NAWAMINTRACHINUTHIT BENJAMARACHALAI SCHOOL | en |
dc.title | การพัฒนาผลการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม เรื่องวิถีมอญคลองสามวาด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เบญจมราชาลัย | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58262314.pdf | 5.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.