Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2719
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaowanee THUPTHONGen
dc.contributorเสาวนีย์ ธูปทองth
dc.contributor.advisornirut vatthanophasen
dc.contributor.advisorนิรุทธ์ วัฒโนภาสth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:06Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:06Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2719-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objective of this research were 1) To study state and problem Ban Ronghuad Earthenware Learning Center at Ngiw Rai Sub-District, Nakhon Chaisri District, Nakhon Pathom Province. 2) To present the supporting approach for Ban Ronghuad Earthenware Learning Center according to Philosophy of the Sufficiency Economy. The sample consisted of 355 samples. There were 55 Secondary School and Non-Formal Teachers in Nakhon Chaisri District, 291 Secondary Schools and Non-Formal Students in Nakhon Chaisri District by using Stratified random Sampling and 9 Stakeholders in this community by using Purposive Sampling. The data were collected through survey and semistructured interview. The data were analyzed through averaged statistic and Standard Deviation and prior to descriptive and analyze data. The results showed 1) The stated and problem were Ban Ronghuad Earthenware Learning Center lacked of Traditional Craftmanship Successor and Learning Activity Administration is not well – known and knowledges, learning process, resources and administration was quite required. 2) The staffs in the learning center should have an ability in service, knowledge instruction, patient, living intelligence and serviced-mind. Moreover the staffs should create Facebook Fanpage for advertising learning center and develop the learning center into learning resource continuously.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ แหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวด ตำบลงิ้วราย อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม และ 2) เสนอแนวทางส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวดตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย 1) ครูโรงเรียนมัธยมศึกษา และครู กศน. อำเภอนครชัยศรี จำนวน 55 คน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 และนักศึกษา กศน. อำเภอนครชัยศรี จำนวน 291 คน รวมทั้งสิ้น 346 คน ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random Sampling) และ 2) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในชุมชน จำนวน 9 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง วิเคราะห์โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา ผลการวิจัย 1) สภาพปัญหา พบว่า แหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวด มีความซบเซา ขาดผู้สืบทอดงานภูมิปัญญาการปั้นเครื่องปั้นดินเผา ขาดการบริหารจัดการเรื่องของ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ภายในแหล่งเรียนรู้ที่ยังไม่เป็นที่น่าสนใจ และยังไม่เป็นที่รู้จัก แพร่หลายของคนทั่วไป และความต้องการแหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวด พบว่า ด้านความรู้ ด้านกระบวนการเรียนรู้ ด้านทรัพยากรและการบริหารจัดการยังมีความต้องการอยู่ใน ระดับมาก และ 2) แนวทางการส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผา พบว่า บุคลากรในแหล่งเรียนรู้นั้นต้องมีความสามารถในการให้บริการ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ มีความอดทนอดกลั้น มีสติปัญญาในการดำเนินชีวิต มีความเอาใจใส่ในการบริการแก่ผู้รับบริการ  และควรมีการจัด ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อโซเชียล จัดสร้างเพจเครื่องปั้นดินเผา การทำเฟสบุ๊ค วีดิทัศน์นำเสนอประวัติ ชุมชน การปั้นเครื่องปั้นดินต่อสาธารณะ และมีการจัดระบบเพื่อพัฒนาเครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวด ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาของชุมชนต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectแนวทางการส่งเสริมth
dc.subjectแหล่งเรียนรู้th
dc.subjectเครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวดth
dc.subjectTHE SUPPORTING APPROACHen
dc.subjectLEARNING CENTERen
dc.subjectBAN RONGHUAD EARTHENWAREen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleGUIDELINES FOR PROMOTION BAN RONGHUAD EARTHENWARE LEARNING CENTER ACCORDING TO PHILOSOPHY OF THE SUFFICIENCY ECONOMYen
dc.titleแนวทางส่งเสริมแหล่งเรียนรู้เครื่องปั้นดินเผาบ้านโรงหวดตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59251212.pdf5.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.