Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRawiwan SUKCHAROENen
dc.contributorรวิวรรณ สุขเจริญth
dc.contributor.advisorSIRIWAN VANICHWATANAVORACHAIen
dc.contributor.advisorศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:08Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:08Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2730-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this pre-experimental research with the one-shot case study were 1) to study eighth grade students’ creative product design abilities development after the instruction with Productivity-Based Learning. 2) to study the students’ opinions towards the instruction with Productivity-Based Learning. The sample consisted of 32 eighth grade students from 2/2 class of Nimmanoradee school, Phasi Charoen, Bangkok Province by cluster-sampling. The research instruments used for gathering data were; lesson plans, evaluation from creative product design abilities and questionnaire on opinions towards the instruction with Productivity-Based Learning. The statistical analysis employed were mean (x̄) and standard deviation (S.D.). The research findings of study were: 1. The development of the eighth grade students’ creative product design abilities after the instruction with Productivity-Based Learning approach were good level. 2. The opinion of the eighth grade students’ towards the instruction with Productivity-Based Learning approach were high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยก่อนทดลอง (Pre-Experimental Research) แบบ The One-Shot Case Study มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสามารถในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ 2) เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนวัดนิมมานรดี สำนักงานเขตภาษีเจริญ สังกัดกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 จำนวน 32 คน ที่ได้มาโดยวิธี การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster-Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพรายวิชาการงานอาชีพ แบบประเมิน ความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ย (x̄) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ เชิงผลิตภาพอยู่ในระดับดี 2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพth
dc.subjectความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์th
dc.subjectPRODUCTIVITY-BASED LEARNINGen
dc.subjectCREATIVE PRODUCT DESIGN ABILITYen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE PRODUCT DESIGN ABILITY BY PRODUCTIVITY-BASED LEARNING OF EIGHTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ด้วยวิธีการเรียนรู้เชิงผลิตภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59253302.pdf6.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.