Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2739
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBhadrani WIANGNAKen
dc.contributorภัทราณี เวียงนาคth
dc.contributor.advisorBAMROONG CHAMNANRUAen
dc.contributor.advisorบำรุง ชำนาญเรือth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:09Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:09Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2739-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare the ability of critical reading of Matthayomsueksa 4 student’s before and after using START strategy, and 2) to study student’s opinions towards learning management using START strategy. The sample used in this research were 26 Matthayomsueksa 4 students of Chondaen Wittayakom, Chondaen District, Phetchabun Province in the first semester of the academic year 2019. The research instruments were 1) lesson plans. 2) an achievement test, and 3) a questionnaire on the students’ opinions towards learning management using START strategy. The data were analyzed by mean (x̄), standard deviation (S.D.) and dependent samples t-test. The results of this research were as follows: 1. The ability of critical reading of Matthayomsueksa 4 students after using START strategy was significantly higher than before using START strategy at the .05 level. 2. The opinions of Matthayomsueksa 4 students towards learning management using START strategy were at a high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านอย่างมี วิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ กลวิธีสตาร์ท (START) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียน ชนแดนวิทยาคม อำเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ทั้งหมด 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ และแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (Dependent Samples t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการอ่านอย่างมีวิจารณญาณth
dc.subjectกลวิธีสตาร์ท (START)th
dc.subjectCRITICAL READINGen
dc.subjectSTART STRATEGYen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleTHE LEARNING MANAGEMENT USING START STRATEGY TO DEVELOP ABILITY OF CRITICAL READING OF MATTHAYOMSUEKSA 4 STUDENTSen
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59255306.pdf5.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.