Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2753
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Prasit KHAMPOL | en |
dc.contributor | ประสิทธิ์ คำพล | th |
dc.contributor.advisor | Orapin Sirisamphan | en |
dc.contributor.advisor | อรพิณ ศิริสัมพันธ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T02:56:15Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T02:56:15Z | - |
dc.date.issued | 12/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2753 | - |
dc.description | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.abstract | The research objectives were 1) to develop the instructional model to enhance undergraduate students’ ethics, 2) to evaluation the effectiveness of the instructional model to enhance undergraduate students’ ethics, and 3) to evaluation and develop the instructional model to enhance undergraduate students’ ethics. Thirty students enrolled in the Strong Citizen subject course in the first semester, the academic year of 2019, were selected as the sampling group by using simple sampling technique. The research materials used in collecting the data were the instructional model manual, the lesson plan, the Strong Citizen course assessment, the students’ ethics assessment and the students’ satisfaction questionnaire for the instructional model. The means, S.D., t-test for dependent, and the content analysis were used in statistic analysis. The results revealed as the followings: 1. The instructional model to enhance students’ ethics consisted of 4 elements; 1) the discipline, 2) the objectives, 3) the learning management strategies, and 4) the implementation condition. The instructional model consisted of 7 steps; 1) Find ethics, 2) Self-examination of ethics, 3) Confirm ethics, 4) Examining social ethics, 5) Reflect the mutual agreement, 6) Set ethical rules, and 7) Comply with ethics. 2. The effectiveness of the model inspection results revealed that: 1) the students’ post-test scores in the Strong Citizen course were significantly higher than the pre-test scores at .05., 2) the students’ ethics scores were significantly higher than the pre-test scores at .05., and 3) the students’ satisfactory total scores for using the instructional model to enhance ethics were at the highest level. 3. The inspection and development results inspected by the experts revealed that the total quality was at the highest level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3) เพื่อประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัด การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาพลเมืองที่เข้มแข็ง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบความรู้รายวิชาพลเมืองที่เข้มแข็ง แบบประเมินจริยธรรม และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีองค์ประกอบ 4 ประการ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการจัดการเรียนรู้ และเงื่อนไขการนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ไปใช้ โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้มี 7 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ขั้นค้นหาจริยธรรม (2) ขั้นตรวจสอบจริยธรรมตนเอง (3) ขั้นยืนยันจริยธรรม (4) ขั้นตรวจสอบจริยธรรมสังคม (5) ขั้นสะท้อนข้อตกลงร่วมกัน (6) ขั้นกำหนดกฎเกณฑ์จริยธรรม และ (7) ขั้นปฏิบัติตามจริยธรรม 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า (1) ผลการเรียนรู้รายวิชาพลเมืองที่เข้มแข็งของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) จริยธรรมของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรีที่เรียนตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. ผลการประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญ มีความคิดเห็นต่อคุณภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | รูปแบบการจัดการเรียนรู้ | th |
dc.subject | จริยธรรม | th |
dc.subject | INSTRUCTIONAL MODEL | en |
dc.subject | ETHICS | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL TO ENHANCE UNDERGRADUTE STUDENTS' ETHICS | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจริยธรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60262901.pdf | 4.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.