Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2754
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThawatchai PHOTIBUATONGen
dc.contributorธวัชชัย โพธิบัวทองth
dc.contributor.advisorNIWAT BOONSOMen
dc.contributor.advisorนิวัฒน์ บุญสมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:16Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:16Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2754-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to : 1) to develop and evaluate the health education activities with team based learning for health promotion of ninth grade students according to criterion 80/80; 2)  evaluate the health education activities with team based learning for health promotion of ninth grade students in the following points : 2.1) to compare the learning outcome entitled “Health Promotion” before and after doing the health education activities with team based learning, 2.2) to study health promotion behavior after doing the health education activities with team based learning, 2.3) to study the satisfaction of ninth grade students toward the health education activities with team based learning. This  research was research and development . The sample were 33 students by Cluster Sampling, in ninth grade who are studying in the second semester 2019 academic year, Bankha wittaya School. The instruments used for this experiment include 1) 5 lesson plans 2) a Learning outcome test 3) health promotion behavior evaluation form 4) a students’ satisfaction questionnaire. The data were analyzed by percentage (%), mean (x̄), standard deviation (S.D.), t-test dependent and content analysis. The result were as follows: 1. The health education activities with team based learning for health promotion of ninth grade students included 6 steps : 1) Introduction 2) Individual Readiness 3) Team Readiness  4) Activity 5) Team Application 6) Conclusion according to standard criterion 83.80/82.10 higher than 80/80. 2. The effectiveness of evaluation in the health education activities with team based learning for health promotion of ninth grade students in these following points . 2.1) the learning outcome entitled “Health Promotion” of ninth grade students after doing the health education activities with team based learning were higher than before doing the health education activities with team based learning were statistically significant at the .05 level, 2.2) The health promotion behavior of ninth grade students after doing the health education activities with team based learning overall is at good level, 2.3) The satisfaction of ninth grade students’ toward health education activities with team based learning were at a high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังนี้ 2.1) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.2) เพื่อศึกษาการสร้างเสริมสุขภาวะของนักเรียนหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน และ 2.3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 โรงเรียนบ้านคาวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จํานวน 33 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 5 แผนการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ 3) แบบประเมินพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาวะ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทดสอบค่าที (t – test)  แบบ Dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่  1) ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน  2) ขั้นเตรียมความพร้อมรายบุคคล 3) ขั้นเตรียมความพร้อมเป็นทีม 4) ขั้นสอนและกิจกรรม 5) ขั้นประยุกต์ใช้ความรู้เป็นทีม และ 6) ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.80/82.10 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2. ประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังนี้ 2.1) ผลการเรียนรู้วิชาสุขศึกษา เรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2) การสร้างเสริมสุขภาวะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับดี และ 2.3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานเพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาth
dc.subjectการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐานth
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาวะth
dc.subjectHEALTH EDUCATION ACTIVITIESen
dc.subjectTEAM BASED LEARNINGen
dc.subjectHEALTH PROMOTIONen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF HEALTH EDUCATION ACTIVITIES WITH TEAM BASED LEARNING FOR HEALTH PROMOTION OF NINTH GRADE STUDENTS en
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาร่วมกับการเรียนรู้แบบทีมเป็นฐาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60263311.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.