Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKannikar CHANLAMOONen
dc.contributorกรรณิการ์ จันละมูลth
dc.contributor.advisorSupachai Supalaknarien
dc.contributor.advisorศุภชัย ศุภลักษณ์นารีth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Scienceen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:59:44Z-
dc.date.available2020-08-14T02:59:44Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2763-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstractThe objective of this work is to excecute content analyses of Supreme Court judgments concerning the use of forensic evidence in the adjudication of sexual offense cases during the years 2008-2019. In this study, the sexual offense cases that had been convicted in the Deka court with the aid of forensic evidence, were compiled and anlysed. A total of 10,199 judgments were retrievable from the search system of Supreme Court judgments (Deka 2015). 317 judgments were chosen as relatd to the sexual offense cases. Of these judgments, 202 judgments were of rape cases, 68 judgments were related to pornographic cases and 47 judgments were of prostitution and pornographic cases. From the 317 judgments, 72 judgements were found to be cases where there were judicial uses of forensic evidence. In the study, most forensic evidence was used in rape cases, accounting for 26% in pornographic cases, 24% and prostitution and pornography accounting for 9%.It was also found that the offenders were male in a high proportion of those cases. Out of the overall 317 cases, only 25 cases were related to the use of weapon and the victims were physically assaulted in 88 cases. The results from this study demonstrated that forensic evidence can bring a fair judgment for both the accused and the prosecutor.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษารวบรวมและวิเคราะห์คดีความผิดเกี่ยวกับเพศที่มีการนำพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์มาใช้ในการพิจารณาในคดีที่มีคำพิพากษาศาลฎีกาที่สิ้นสุดลงแล้วในระหว่างปี พ.ศ.2551-พ.ศ.2562 ในการศึกษานี้สืบค้นจากคดีที่มีการตัดสินในศาลฎีกาว่าใช้หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์มาช่วยในการตัดสินคดีความผิดเกี่ยวกับเพศจากการสืบค้นด้วยระบบสืบค้นคำพิพากษา คำสั่งคำร้องและคำวินิจฉัยศาลฎีกาหรือสืบค้นฎีกา2015 ได้ทำการรวบรวมคำพิพากษาของศาลฎีกาทั้งหมด 10,199 คำพิพากษา จากคำพิพากษาศาลฎีกาเหล่านี้พบว่าเป็นคดีเกี่ยวกับข่มขืนกระทำชำเรา 202 คดี คดีอนาจาร 68 คดี และคดีเกี่ยวกับการค้าประเวณีและสื่อลามกอนาจาร 47 คดี และเมื่อพิจารณาคดีจากคำพิพากษาฎีกาทั้งหมด 317 คำพิพากษาฎีกา พบว่ามีการนำหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์มาใช้ในการพิจารณาคดีทั้งสิ้น 72 คำพิพากษาฎีกา ในการศึกษาพบว่ามีการใช้หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ในคดีข่มขืนกระทำชำเราคิดเป็น 26 % ในคดีอนาจารคิดเป็น 24 % และคดีเกี่ยวกับการค้าประเวณีและสื่อลามกคิดเป็น 9 % จากการศึกษายังพบว่าจำเลยที่กระทำความผิดในคดีเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นเพศชายและเมื่อพิจารณาจากคดีทั้งหมด 317 คดี มีเพียง 25 คดี  ที่มีการใช้อาวุธมาเกี่ยวข้อง และเหยื่อจะถูกทำร้ายร่างกายถึง 88 คดี จากผลการวิเคราะห์ในการศึกษานี้ แสดงให้เห็นว่าการใช้หลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์สามารถทำให้ตัดสินคดีที่ยุติธรรมทั้งด้านโจทย์และจำเลยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์th
dc.subjectคำพิพากษาศาลฎีกาth
dc.subjectคดีความผิดเกี่ยวกับเพศth
dc.subjectForensic evidenceen
dc.subjectSupreme Court judgmentsen
dc.subjectSexual offense caseen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleAn analysis of forensic evidence in Supreme Court's verdict on Sex offense during the year 2008 - 2019en
dc.titleการวิเคราะห์พยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์ในคำพิพากษาศาลฎีกาคดีความผิดเกี่ยวกับเพศระหว่างปี พ.ศ. 2551 - 2562th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58312301.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.