Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2785
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMelada RUNGRUEANGen
dc.contributorเมลดา รุ่งเรืองth
dc.contributor.advisorPORNSARP PORNSAWADen
dc.contributor.advisorพรทรัพย์ พรสวัสดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Scienceen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:59:48Z-
dc.date.available2020-08-14T02:59:48Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2785-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study mathematics learning achievement on ratio and group work behavior of mathayomsuksa 1 students receiving cooperative learning management using TGT and STAD techniques. The sample used in this research  were 88 mathayomsuksa 1 students of Pakkred Secondary School at during second semester of the 2019 academic year. The research instruments were 1) lesson plans by using TGT and STAD technique on ratio, 2) achievement tests on ratio and 3) group work behavior observation form. The result of this research were: 1) The students’ learning achievement on ratio of mathayomsuksa 1 students receiving cooperative learning management using TGT and STAD techniques did not show the different learning achievement at .05 of the statistical significant level. 2) The students’ learning achievement on ratio of mathayomsuksa 1 students after receiving cooperative learning management using TGT were higher than before the experiment at .05 of the statistical significant level. 3) The students’ learning achievement on ratio of mathayomsuksa 1 students after receiving cooperative learning management using STAD were higher than before the experiment at .05 of the statistical significant level.      4) The students’ learning achievement on ratio of mathayomsuksa 1 students after receiving cooperative learning management using TGT were higher than the criterion score of 70% at .05 of the statistical significant level. 5) The students’ learning achievement on ratio of mathayomsuksa 1 students after receiving cooperative learning management using STAD were higher than the criterion score of 70% at .05 of the statistical significance level. 6) The group working behaviors of mathayomsuksa 1 students after receiving cooperative learning management using TGT and STAD techniques was a good level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน และพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT และการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 โรงเรียนปากเกร็ด ที่ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจงจำนวน 88 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT และเทคนิค STAD เรื่อง อัตราส่วน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อัตราส่วน และ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ผลของการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT กับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 4) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วน หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 5) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง อัตราส่วน หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 6) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT กับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค STAD มีพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม อยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค STADth
dc.subjectการเรียนแบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGTth
dc.subjectพฤติกรรมการทำงานกลุ่มth
dc.subjectการเรียนแบบร่วมมือth
dc.subjectอัตราส่วนth
dc.subjectSTAD TECHNIQUE COOPERATIVE LEARNINGen
dc.subjectTGT TECHNIQUE COOPERATIVE LEARNINGen
dc.subjectGROUP WORK BEHAVIORen
dc.subjectCOOPERATIVE LEANINGen
dc.subjectRATIOen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE ACHIEVEMENT OF THE COOPERATIVE LEARNING MANAGEMENT USING TGT AND STAD TECHNIQUES IN MATHEMATICS FOR SECONDARY SCHOOL STUDENTSen
dc.titleผลสัมฤทธิ์ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT และ STAD ในรายวิชาคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60316308.pdf9.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.