Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/279
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อิ่มจิต, สราวุธ | - |
dc.contributor.author | Imjit, Sarawut | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-25T16:37:42Z | - |
dc.date.available | 2017-08-25T16:37:42Z | - |
dc.date.issued | 2559-08-05 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/279 | - |
dc.description | 54312327 ; สาขาวิชานิติวิทยาศาสตร์ -- สราวุธ อิ่มจิต | en_US |
dc.description.abstract | ในการศึกษาสารเคมีที่ใช้ในการหารอยลายนิ้วมือแฝง 3 ชนิด คือ นินไฮดริน 5 – เมธิลไธโอนินไฮดริน และ 1,2- อินเดนไดโอน นำมาใช้ในการหารอยลายนิ้วมือแฝงที่ประทับบนแผ่นยิปซั่ม ซึ่ง 5 – เมธิลไธโอนินไฮดรินถูกใช้อย่างเดียว และตามด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์ สำหรับการใช้ 1,2- อินเดนไดโอน และ 5 – เมธิลไธโอนินไฮดริน ตามด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์นั้น การตรวจลายนิ้วมือแฝงจะต้องผ่านแหล่งแสงที่มีฟิลเตอร์ ในช่วงความยาวคลื่น 495-550 นาโนเมตร ในการตรวจสอบผลของอายุของลายนิ้วมือแฝงทำโดย ตัวอย่างจะถูกนำมาหารอยลายนิ้วมือแฝงที่เวลาทันที 6 ชั่วโมง 12 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง 1 สัปดาห์ และ 1 เดือน ภายหลังจากการประทับรอยลายนิ้วมือลงบนแผ่นยิปซัม คุณภาพของรอยลายนิ้วมือแฝงที่ได้ ประเมินมาจากจำนวนจุดสำคัญพิเศษที่ตรวจโดยใช้เครื่อง MINI AFIS ผลการทดลองพบว่าการใช้สารละลาย นินไฮดรินให้การตรวจรอยลายนิ้วมือแฝงมีคุณภาพดีกว่ารอยลายนิ้วมือแฝงที่ใช้สารละลาย 5 – เมธิลไธโอนินไฮดริน ในขณะที่รอยลายนิ้วมือแฝงที่เรืองแสงฟลูออเรสเซนต์ ที่ใช้สารละลาย 1,2- อินเดนไดโอน ให้คุณภาพของลายนิ้วมือแฝงที่ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้ สารละลาย 5 – เมธิลไธโอนินไฮดริน แล้วทาทับด้วยสารละลายซิงค์คลอไรด์ โดยสรุปพบว่าจากสารละลายที่ใช้ในงานวิจัยนี้พบว่า สารละลาย 1,2- อินเดนไดโอน เป็นสารเคมีที่ใช้ในการหารอยลายนิ้วมือแฝงที่ดีที่สุดบนตัวอย่างแผ่นยิปซัม In this study, three fingerprint reagents namely, ninhydrin, 5-methylthioninhydrin and 1,2-indanedione were tested on latent fingerprints impressed on the gypsum boards. The 5 -methylthioninhydrin were used with and without further application of a zinc chloride solution. In the 1,2-indanedione and 5-methylthioninhydrin/ zinc chloride tests, the developed fingerprints were visualized by illuminating with a light source filtered for the wavelength of 495-550 nm range . To examine the effect of aging time on the latent fingerprints, the specimens were developed immediately and at 6 hours, 12 hours, 1 week and 1 month after the impression of the fingerprints. The quality of the developed fingerprints was evaluated from the number of minutiae identified by a MINI AFIS. It was found that the ninhydrin reagent provided a better quality of the developed fingerprints than those obtained by the 5-methylthioninhydrin reagent while the fluorescent fingerprints developed by the 1,2-indanedione were of better quality when compared to the fingerprints developed in the 5-methylthioninhydrin/zinc chloride tests. Overall, among the three reagents used in this work, 1,2-indanedione is the best reagent for the visualization of latent fingerprints deposited on the gypsum boards. | en_US |
dc.description.sponsorship | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.subject | ลายนิ้วมือแฝง | en_US |
dc.subject | ฝ้าเพดาน | en_US |
dc.subject | นินไฮดริน | en_US |
dc.subject | 1,2 อินเดนไดโอน | en_US |
dc.subject | 5 – เมธิลไธโอนินไฮดริน | en_US |
dc.title | การประเมินประสิทธิภาพของการใช้ 5-methylthioninhydrin ในการตรวจหารอยลายนิ้วมือบนแผ่นยิปซัม | en_US |
dc.title.alternative | AN ASSESSMENT OF THE EFFECTIVENESS OF 5-METHYLTHIONINHYDRIN FOR LATENT FINGERPRINT DEVELOPMENT ON THE GYPSUM BOARDS. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
54312327 สราวุธ อิ่มจิต.pdf | 3.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.