Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWeerachet MANGWANEen
dc.contributorวีรเชษฐ์ มั่งแว่นth
dc.contributor.advisorAMARIN TAWATAen
dc.contributor.advisorอมรินทร์ เทวตาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2020-08-14T04:51:43Z-
dc.date.available2020-08-14T04:51:43Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2866-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThe quantitative research aims to investigate levels of followship and work efficiency and to study followship affecting work efficiency of the departments under the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation. The Sample included the personnel from departments under the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation, with a total of 236 subjects.  The research instrument was questionnaires. The data analysis was done by implementing a frequency rate, a percentage, a mean value, a standard deviation and a method of stepwise multiple regression. The result demonstrated that 1.) The distant followship a moderate level. 2.) The inert followship which affected a minimal level.  3.) The adaptive followship a high level. 4.) The defensive followship a high level. 5.) The effective followship showed a high level, respectively. The hypothesis testing identified,inert, adaptive and effective followship positively affected the work efficiency , with a statistical significant at level of 0.01.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้ตามและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และศึกษาภาวะผู้ตามที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากร ของหน่วยงานภายใต้กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จำนวน 236 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า ระดับภาวะผู้ตามในแต่ละด้านมีดังนี้ 1. ผู้ตามแบบห่างเหิน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้ตามแบบเฉื่อยชา อยู่ในระดับน้อย 3. ผู้ตามแบบปรับตาม อยู่ในระดับมาก 4. ผู้ตามแบบทำงานเอาตัวรอด อยู่ในระดับมาก 5. ผู้ตามแบบมีประสิทธิผล อยู่ในระดับมาก และระดับของประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ภาวะผู้ตาม ด้านผู้ตามแบบเฉื่อยชา ด้านผู้ตามแบบปรับตาม และด้านผู้ตามแบบมีประสิทธิผล ส่งผลทางบวกต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะผู้ตามth
dc.subjectผู้ตามแบบห่างเหินth
dc.subjectผู้ตามแบบเฉื่อยชาth
dc.subjectผู้ตามแบบปรับตามth
dc.subjectผู้ตามแบบทำงานเอาตัวรอดth
dc.subjectผู้ตามแบบมีประสิทธิผลth
dc.subjectประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานth
dc.subjectfollowshipen
dc.subjectdistant followersen
dc.subjectinert followersen
dc.subjectadaptive followersen
dc.subjectdefensive followersen
dc.subjecteffective followersen
dc.subjectwork efficiencyen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleFollowship Affecting Work Efficiency of Departments under the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovationen
dc.titleภาวะผู้ตามที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายใต้กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61602323.pdf5.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.