Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2947
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Peechaya POTISIT | en |
dc.contributor | พีชญา โพธิสิทธิ์ | th |
dc.contributor.advisor | Vichaya Mukdamanee | en |
dc.contributor.advisor | วิชญ มุกดามณี | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2021-02-17T02:55:16Z | - |
dc.date.available | 2021-02-17T02:55:16Z | - |
dc.date.issued | 18/6/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2947 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) | th |
dc.description.abstract | The response of female beauty has been bond with sexual attractive reaction. Nudity has been stated as an inappropriate behavior because it shows sensitive areas of human body. With many reasons, in cultural context, a huge structure associate with the idea of women act which become norm and hard to solve. Woman body could never escape gaze. Society affects women’s expression rigorously and illogically. This often leads to sex’s equality demand from the suppression on women such as strictly manner and appropriate dress only for women because this could prevent rape and crime toward women. The appearance of nudity in woman is always seen as trigger for sexual reaction, so it conceals the aesthetic of woman body. An intention of the artist is to present the beauty of nudity but decreasing sexual stimulation and shows natural beauty to women’s body. | en |
dc.description.abstract | เรืองร่างของผู้หญิงมักถูกยึดตรึงไว้กับบทบาทของการเป็นสิ่งเร้าทางกามารมณ์ การเปลื้องผ้าที่เผยให้เห็นถึงสิ่งที่นิยามกันว่าพื้นที่สงวนนั้นเป็นพฤติกรรมที่ไม่หมาะไม่ควร เกี่ยวเนื่องด้วยหลายสาเหตุปัจจัย ไม่ว่าจะในด้านสังคมหรือวัฒนธรรม ที่ถือเป็นโครงสร้างสำคัญในการปลูกฝังชุดความคิดต่อบทบาทความเป็นหญิง บ่อเกิดทางอารมณ์ที่สังคมมองว่าเป็นเรื่องปกติและยากจะแก้ไข ว่าด้วยร่างกายของผู้หญิงไม่อาจหลีกหนีไปจากเรื่องเหล่านี้ได้ ด้วยความเป็นปกติที่สังคมยอมรับ ส่งผลให้ความเคร่งครัดในด้านการแสดงออกทางร่างกายของผู้หญิงนั้นมีเงื่อนไขอย่างไร้เหตุผลอันควร นำมาซึ่งการเรียกร้องถึงความเท่าเทียมทางเพศให้เห็นกันบ่อยครั้ง ถึงความไม่เสมอภาคและการถูกลดทอนความเป็นมนุษย์ ไปจนถึงการที่ผู้หญิงถูกหล่อหลอมให้วางตัวอย่างระมัดระวังเพื่อหลีกเลี่ยงอาชญากรรมทางเพศ เมื่อสิ่งที่เกิดขึ้นจริงของการเปลือยเปล่าในผู้หญิง ที่มักถูกมองให้เห็นถึงภาพจำในแง่ของสิ่งเร้าจนเป็นที่คุ้นชินและไม่อาจแยกขาดออกจากกันได้ การปรุงแต่งที่ถือเป็นทัศนคติทางเพศที่สังคมให้การยอมรับ ทำให้เกิดการบดบังทัศนะความงามที่คงอยู่ในส่วนต่าง ๆ ของสรีระร่างกาย จึงเกิดเป็นความต้องการของผู้สร้างสรรค์ในการเสนอความเปลือยเปล่าที่คงความงดงามแต่ลดทอนการสร้างความปลุกเร้า ความต้องการที่จะคืนความเป็นธรรมดาของร่างกายให้กับเพศหญิง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ผู้หญิง | th |
dc.subject | สิทธิสตรี | th |
dc.subject | ความงาม | th |
dc.subject | Female | en |
dc.subject | Woman's rights | en |
dc.subject | Body | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Nature of Beauty from Female Body. | en |
dc.title | ธรรมชาติของความงามแห่งสรีระสตรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61001204.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.