Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaran AKHARANITIPIRAKOOLen
dc.contributorณรัณฐ์ อัครนิธิพิรกุลth
dc.contributor.advisorAchirat Chaiyapotpaniten
dc.contributor.advisorอชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิชth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2021-02-17T02:57:31Z-
dc.date.available2021-02-17T02:57:31Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2969-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research are to study of techniques and styles of sculpture that was created by the sculptor Peng Song during 1964-1997 and to analyze the beliefs and concepts of making Chinese sculptures in Thailand in the second half of the 19th Century through sculptures created by Peng Song.  In addition, this study serves as a database and guidelines for the conservation of sculpture works of Peng Song. The results can be summarized as follows: 1. The Unique processes and materials of sculptures created by Peng Song are the use of cloth, paper, and lacquer. Therefore, the sculptures have lightweight and easy handling even with a large dimension. Most of his techniques originated from China which have a long history of this technique but a few of techniques should be improved by himself because materials are easier to find, stronger, and shorter than the ancient technique. As a result of specific forms of the craftsmen and improved the materials, the sculptures of Peng Song were thicker than the sculptures made of cloth, paper, and lacquer which were imported from China in the reign of King Rama V. 2. The style of Peng Song's sculpture can be divided into 2 periods. During the first half (1957-1983), the sculpture shows the adoption of a form that comes from the older Chinese art. The sculptor created a number of new sculptural styles that are truly unique. In the second half (1957-1997), he reused the unpopular design and adopted the new style directly from China. Some of the works in this period were less exquisite because of the cost reduction. 3. There are three main Chinese beliefs expressed through the sculptures of Chang Peng. The first, Chinese beliefs that are different from the traditional beliefs in China emerged from the fusion of Thai beliefs. This type of belief is demonstrated through Jiu Huang Fo Zu deity sculptures. The second, new beliefs that are evident through Guanyu deity and Tara came from China. The last, beliefs that are evident through the increase in Ta Feng Zu Shi monk and confusion of Shui Wei Sheng Nieng and Ma Zu goddess related to the cultures of the Chinese immigrants of five Chinese dialect groups.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาเทคนิคและรูปแบบในการสร้างประติมากรรมของช่างเป๋งซ้ง ตลอดจนความเชื่อและแนวคิดในการสร้างประติมากรรมจีนในไทยช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 26 ผ่านประติมากรรมซึ่งสร้างโดยช่างเป๋งซ้ง และเพื่อเป็นฐานข้อมูลและแนวทางในการรักษาอนุรักษ์ประติมากรรมผลงานของช่างเป๋งซ้ง โดยได้ทำการค้นคว้าข้อมูลทั้งจากการลงพื้นที่สำรวจข้อมูลที่เป็นเอกสาร และนำมาวิเคราะห์ตามระเบียบวิธีการทางประวัติศาสตร์ศิลปะ ผลการวิจัย สามารถสรุปเป็นประเด็นได้ดังนี้ 1. กรรมวิธีและวัสดุ ในการสร้างประติมากรรมที่สำคัญและเป็นเอกลักษณ์ของช่างเป๋งซ้ง คือ เทคนิคการใช้ “ผ้า กระดาษ และยางรัก” โดยภายในประติมากรรมกลวง ส่งผลให้ประติมากรรมมีน้ำหนักเบาง่ายต่อการเคลื่อนย้ายแม้มีขนาดใหญ่ กรรมวิธีส่วนหนึ่งช่างคงรับสืบทอดมาจากจีนซึ่งมีความนิยมอยู่ก่อน แต่อีกส่วนช่างคงพัฒนาปรับปรุงขึ้นเอง สาเหตุเพื่อหาวัสดุได้ง่ายขึ้น มีคุณสมบติที่ดีกว่า แข็งแรงกว่าเก่า และลดระยะเวลาในการสร้างประติมากรรม ผลของการปรับเปลี่ยนวัสดุผนวกกับรูปแบบรสนิยมความงามเฉพาะของช่างที่แสดงออกจึงทำให้ประติมากรรมของช่างเป๋งซ้งหนากว่าประติมากรรมที่สร้างด้วย ผ้า หรือ กระดาษ และยางรักยุคก่อนซึ่งนำเข้าจากจีนราวรัชกาลที่ 5 2. รูปแบบประติมากรรม ของช่างเป๋งซ้ง ช่วงครึ่งแรก (พ.ศ. 2500-2526) เป็นช่วงที่ช่างรับรูปแบบสืบต่อจากศิลปะจีนมา มีการทดลองสร้างสรรค์รูปแบบส่วนประกอบของประติมากรรมใหม่ๆ เป็นจำนวนมาก จนเกิดเป็นเอกลักษณ์ของช่างเป๋งซ้งอย่างแท้จริง เมื่อเข้าสู่ ช่วงครึ่งหลัง (พ.ศ. 2526-2540) มีทั้งการนำรูปแบบเก่าที่ไม่ได้รับความนิยมขาดช่วงไปแล้วมาปรับใช้ใหม่ และมีการรับรูปแบบใหม่จากจีนโดยตรง ผลงานบางส่วนในช่วงนี้มีความละเอียดประณีตน้อยลงอันเป็นผลมาจากการลดต้นทุน 3. ความเชื่อชาวจีน ที่ปรากฏผ่านประติมากรรมของช่างเป๋งซ้ง พบว่ามีด้วยกันสามประเด็นที่สำคัญ ได้แก่ ความเชื่อของชาวจีนที่เมื่อเข้าแล้วได้ปรับรับกับวัฒนธรรมความเชื่ออย่างไทยจนมีพัฒนาการที่ต่างไปจากจีนปรากฏให้เห็นผ่านประติมากรรมเทพเจ้าจิ่วหวางฝอจู่ ความเชื่อใหม่ในไทยที่รับจากจีนปรากฏให้เห็นผ่านประติมากรรมเทพเจ้ากวานหยู่และพระตารา และ ความเชื่อที่สัมพันธ์กับกลุ่มชาวจีน 5 ภาษา ปรากฏให้เห็นผ่านเทพเจ้าต้าเฟิงจู่ชือ และฉุ่ยเหว่ยเชิ่งเหนียง เป็นต้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectประติมากรรมth
dc.subjectความเชื่อชาวจีนth
dc.subjectเป๋งซ้งth
dc.subjectCHINESE SCULPTURESen
dc.subjectCHINESE BELIEFSen
dc.subjectPENGSONGen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe works of Pengsong and the beliefs in the creationof Chinese deities sculptures in the decades of 1957s - 1997sen
dc.titleประติมากรรมฝีมือช่างเป๋งซ้งและบทบาทความเชื่อการสร้างรูปเคารพชาวจีนในไทยทศวรรษ 2500-2550th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61107203.pdf14.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.