Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNittaya HOMGRUNen
dc.contributorนิตยา หอมกรุ่นth
dc.contributor.advisorPrasert Intaraken
dc.contributor.advisorประเสริฐ อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:01:09Z-
dc.date.available2021-02-17T03:01:09Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3008-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this study were 1) to study the Early childhood Educational Management of Intharasukseuksalai (Banyang) School. 2) to suggest the guidelines for developing Early childhood Educational Management of the School. The population of this study was composed of 13 administrators and teachers of Intharasukseuksalai (Banyang)School, (including 3 academic administrators, and 10 teachers.) The instruments of this study were questionnaire and interviews, based on Early Childhood Educational Management standard. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and content analysis. The findings of this study were as follows: 1. The Early childhood Educational Management of Intharasukseuksalai (Banyang) School was rated at a high level, both overall and in each aspect. Those were ordered by arithmetic mean from the highest to lowest: child quality of life, child-centered activities, and management process. 2. The suggested guidelines for further improving Early childhood Educational Management of Intharasukseuksalai (Banyang) school are four-fold: 1) the school should report early childhood education activities continuously, 2) it should delegate school work to the teachers based on their ability, 3) it should improve early childhood education curriculum and, 4) it should encourage the early childhood teachers to make activity plans, in order to stimulate the children’s development, based on early childhood curriculum issued in B.E. 2560en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1. การดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอินทรศักดิ์ศึกษาลัย (บ้านยาง) 2. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอินทรศักดิ์ศึกษาลัย (บ้านยาง) ประชากรในการวิจัย คือ บุคลากรของโรงเรียนอินทรศักดิ์ศึกษาลัย (บ้านยาง) จังหวัดนครปฐม จำนวน 13 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารฝ่ายวิชาการ จำนวน 3 คน  ครู จำนวน  10 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการดำเนินงานจัดการศึกษาปฐมวัยตามมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย  ความถี่  ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอินทรศักดิ์ศึกษาลัย (บ้านยาง) โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และเมื่อแยกเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงตามลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้  ด้านคุณภาพเด็ก ด้านการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ 2. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอินทรศักดิ์ ศึกษาลัย (บ้านยาง) มี 4 แนวทาง คือ 1) จัดกิจกรรม /โครงการ ส่งเสริมการเรียนการสอน และ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง 2) มีการมอบหมายงานโดยคำนึงถึงความสามารถและความถนัดเป็นหลัก 3) มีการส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 4) ส่งเสริมให้ครูปฐมวัยทุกคนจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญตามแนวทางของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการดำเนินงานจัดการศึกษาระดับปฐมวัยth
dc.subjectEarly childhood Educational Managementen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleEARLY CHILDHOOD EDUCATIONAL MANAGEMENTOF INTHARASUKSEUKSALAI (BANYANG) SCHOOLen
dc.titleการดำเนินงานการจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนอินทรศักดิ์ศึกษาลัย (บ้านยาง)th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58252374.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.