Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRuttikorn PIROMKRONGen
dc.contributorรัตติกร ภิรมย์โคร่งth
dc.contributor.advisorBheeradhev Rungkhunakornen
dc.contributor.advisorพีรเทพ รุ่งคุณากรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:01:13Z-
dc.date.available2021-02-17T03:01:13Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3021-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThis research objectives were to 1) study learning style of the Seventh Grade Students, Watraikhing Witthaya School. 2) Study the Resource Usage of the Seventh Grade Students, Watraikhing Witthaya School. The sample group was the Seventh Grade Students, Watraikhing Witthaya School who were studying in second semester, academic year 2019. The Population group was 605 students and The sample group was 242 students who were simple random sampling. Designate sample group opened by Krejcie and Morgan schedule. The instrument used to collect data was questionnaire to be 2 crumbs. Data were analyzed by statistic, frequency, percentage, mean and standard diviation. The results of the study were as follows: 1) The learning style of the Seventh Grade Students, Watraikhing Witthaya School were high levels in Kinesthetic Learners (90 students = 37%) moderate levels in Visual Learners (85 students = 35%) and lower levels in Auditory Learners (67 students = 28%). The students might have distinctive features or integrated features of learning style. 2) The Resource Usage of the Seventh Grade Students at Watraikhing Witthaya School, dimensions is very much (x̄ = 3.97, S.D. = .399). The students interested and participated in the highest level  (x̄ = 4.53, S.D. = .368). The students took notes the least (x̄ = 3.61, S.D. = .365).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา และ 2) ศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จากประชากร 605 คน ผู้วิจัยทำการคัดเลือกด้วยวิธีการสุ่มแบบง่าย กำหนดขนาด กลุ่มตัวอย่างโดยเปิดตารางเครซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 242 คน เครื่องมือ การเก็บข้อมูลเป็นแบบประเมิน จำนวน 2 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ลีลาการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน วัดไร่ขิงวิทยา มีความถนัดจากการลงมือทำมากที่สุด จำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 37 นักเรียน มีความถนัดจากการดู จำนวน 85 คน คิดเป็นร้อยละ 35 และนักเรียนมีความถนัดจากการได้ยิน จำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 28 ซึ่งนักเรียนอาจมีลักษณะเด่นหรือลักษณะผสมผสานระหว่าง ลีลาการเรียนรู้ 2) การใช้แหล่งเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน วัดไร่ขิงวิทยา ในภาพรวมทุกด้าน อยู่ในระดับ มาก (x̄ = 3.97, S.D. = .399) ลำดับที่ 1 คือ ด้านความสนใจและการมีส่วนร่วม อยู่ในระดับ มากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = .368) แต่การใช้ แหล่งเรียนรู้ที่นักเรียน ใช้น้อยที่สุด คือ ด้านการจดบันทึก อยู่ในระดับ มาก (x̄ = 3.61, S.D. = .365)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectลีลาการเรียนรู้th
dc.subjectการใช้แหล่งเรียนรู้th
dc.subjectนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.subjectโรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยาth
dc.subjectLEARNING STYLESen
dc.subjectRESOURCE USAGEen
dc.subjectTHE SEVENTH GRADE STUDENTSen
dc.subjectWATRAIKHING WITTHAYA SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleLearning Styles and Resource Usageof the Seventh Grade Students of Watraikhing Witthaya Schoolen
dc.titleลีลาการเรียนรู้และการใช้แหล่งเรียนรู้ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59251210.pdf4.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.