Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3026
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNattanun BOONPENen
dc.contributorณัฐนันท์ บุญเพ็ญth
dc.contributor.advisorNammon Ruangriten
dc.contributor.advisorน้ำมนต์ เรืองฤทธิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:01:14Z-
dc.date.available2021-02-17T03:01:14Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3026-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) To Compare critical thinking scores  before and after studying by Inquiry-based electronic books 2) To Compare critical thinking scores between groups of students with learning ability in science subjects of high, middle and low groups. 3) To study satisfaction of mathayomsuksa 1 students on Inquiry-based electronic books. The sample groups for this research were 2nd semester, academic year 2562 in mathayomsuksa 1 students from Chomchon  Watrangbua School 30 peoples by Simple Random Sampling. The instruments of this research were : 1) Inquiry-based electronic books title : Global Warming learning plan. 2) Inquiry-based electronic books title : Global Warming 3) Test of critical thinking ability before and after learning. 4) Satisfaction Assessment form inquiry-based electronic books title : Global Warming. The results were as follows : 1) Critical thinking results after learning were higher than before learning. Statistical significance at the level of .05 2) Critical thinking results between groups after learning are different. By high school students has an average score of 23.20, Medium group students has an average score of 16.90, Low group students has an average score of 12.10. Statistical significance at the level of .05  3) The Student’s Satisfaction was in most level with mean of 4.63 and standard deviation of 0.48en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ก่อนและหลังเรียนโดยการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบสืบสวนสอบสวน 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ หลังเรียนระหว่างกลุ่มของนักเรียนที่มีความสามารถทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสูง กลุ่มกลาง และกลุ่มต่ำ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสืบสวนสอบสวน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ  นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนวัดรางบัว อ.จอมบึง จ.ราชบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้การวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสืบสวนสอบสวน เรื่องภาวะโลกร้อน 2) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสืบสวนสอบสวน เรื่องภาวะโลกร้อน 3) แบบวัดความสามารถการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียน 4) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสืบสวนสอบสวน เรื่องภาวะโลกร้อน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการเปรียบเทียบการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนเรียนและหลังเรียน ระหว่างกลุ่มที่มีความสามารถในการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ต่างกัน ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ แบบสืบสวนสอบสวน (IBL) เรื่องภาวะโลกร้อน ที่มีผลต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ พบว่า มีความแตกต่างกัน โดยนักเรียนกลุ่มสูงมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 23.20 นักเรียนกลุ่มปานกลางมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.90 นักเรียนกลุ่มต่ำมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 12.10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานเท่ากับ 0.48th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectหนังสืออิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนth
dc.subjectการคิดอย่างมีวิจารณญาณth
dc.subjectElectronic Booksen
dc.subjectInquiry-Method Learningen
dc.subjectCritical Thinkingen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Critical thinking results by inquiry-method electronic books for Different abilities In studying science courses of mathayomsuksa 1 studentsen
dc.titleผลการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบสืบสวนสอบสวนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความสามารถในการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ต่างกันth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59257309.pdf6.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.