Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuttivat TOSOMBOONen
dc.contributorสุทธิวัฒน์ โตสมบุญth
dc.contributor.advisorBheeradhev Rungkhunakornen
dc.contributor.advisorพีรเทพ รุ่งคุณากรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:01:16Z-
dc.date.available2021-02-17T03:01:16Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3032-
dc.descriptionDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศษ.ด.)th
dc.description.abstract  The objectives of this research were to study 1) learning to the amulet and knowledge transmission of the amulet collector, 2) methods and knowledge transmission of the amulet collector. This research was qualitative research and keeping the data from any paper that relate and in-depth interview method was used for the data collection from 10 units of the amulet collector whereas they had over 10 years of the experience in the amulet collection. The results showed: The amulet learning came from belief, intimation to the amulet collector, the benefit that they would receive when they could use this knowledge to create the occupation exactly and someone had ever ordinated and it made him trust too. The learning of the amulet collector had many types, e.g. learning by the amulet book, learning by asking the expert man, learning by rental the amulet to compare, learning by internet and learning by experience in amulet making or any sacred objects. While the knowledge transmission that found: It had formal methods and informal methods. Formal methods comprise with the amulet magazine, social online, live video, Facebook and Youtube channel. Informal methods comprise with suggestion during the time when they sold or bought the amulet and some collector had been invited to interviews in a television program or participated in TV game show.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายทอดความรู้ของผู้ค้าพระเครื่องไทยเป็นการวิจัยเชิงเชิงสำรวจ ที่เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการเก็บข้อมูลเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นผู้ค้าพระเครื่องไทยที่ จำนวน 8 คน สรุปผลการวิจัยผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ค้าพระเครื่องไทยการแสวงหาความรู้และ การจัดการความรู้ จากความศรัทธา ความใกล้ชิดกับนักสะสมพระเครื่อง การเล็งเห็นถึงผลประโยชน์ ที่จะได้รับหากสามารถนำความรู้เกี่ยวกับพระเครื่องมาประกอบเป็นอาชีพอย่างจริงจัง พวกเขาใช้ วิธีการเรียนรู้หลายแบบ ได้แก่ วิธีที่สำคัญคือการอ่านหนังสือ และนิตยสารพระเครื่อง การสอบถามผู้รู้ การเช่าพระจริงมาทำการศึกษาเปรียบเทียบ การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในอินเทอร์เน็ต การเรียนรู้ จากประสบการณ์การทำงานที่มีมาอย่างต่อเนื่อง 2) พวกเขาถ่ายทอดความรู้แบบเป็นทางการและ แบบไม่เป็นทางการ ในการถ่ายทอดความรู้แบบเป็นทางการ ใช้วิธีผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น หนังสือหรือ นิตยสารพระเครื่อง โดยการจัดทำวิดีโอถ่ายทอดสด และยูทูปเป็นหลัก ส่วนการถ่ายทอดความรู้แบบ ไม่เป็นทางการ ใช้วิธีการแนะนำหรือการให้คำปรึกษาในระหว่างการซื้อขายแลกเปลี่ยนพระเครื่อง 3) การปรับประเมินการถ่ายทอดความรู้และการพัฒนาต่อยอด ผู้ค้าพระเครื่องไทยมีการประเมิน การถ่ายทอดความรู้ของตนเองในหลายลักษณะ ผู้ค้าพระเครื่องไทยโดยผู้ค้าพระเครื่องไทยที่ใช้วิธีการ ไลฟ์สดก็จะประเมินจากยอดผู้ติดตามที่มีจำนวนมากขึ้นในการไลฟ์สดแต่ละครั้ง นอกจากนี้ ผู้ค้าพระเครื่องไทยมีการปรับการประเมินตนเองในการถ่ายทอดความรู้จากกลุ่มเป้าหมาย โดยเปิดรับ ฟังผลให้ผู้รับฟังสามารถโต้ตอบ สอบถาม หรือแสดงข้อคิดเห็น เพื่อการปรับปรุงแก้ไข หลายท่าน ยังหาวิธีการใหม่ ๆ มานำเสนอและจัดให้เห็นถึงคุณลักษณะของผู้ชี้นำตนเองในการเรียนรู้และพัฒนาตลอดชีวิตth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการถ่ายทอดความรู้th
dc.subjectพระเครื่องth
dc.subjectLEARNINGen
dc.subjectKNOWLEDGE TRANSMISSIONen
dc.subjectAMULETen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHAI AMULET MERCHANT'S KNOWLEDGE TRANSFERRING PROCESSen
dc.titleกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของผู้ค้าพระเครื่องไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60251905.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.