Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3077
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJukkrit DECHPORNen
dc.contributorจักรกฤษ เดชพรth
dc.contributor.advisorMANASSINEE BOONMEESRISA-NGAen
dc.contributor.advisorมนัสสินี บุญมีศรีสง่าth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:44:48Z-
dc.date.available2021-02-17T03:44:48Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3077-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis research aims to study and compare between the social and environmental corporate perception and image classified by personal factors and to study the social and environmental corporate image affecting perception of Ampol Food Processing Co., Ltd. Consumers. This research uses a quantitative research method by querying the factors affecting the perception of the corporate image in the perspective of 400 consumers via online questionnaire The results of the study of personal factors found that consumers with personal factors in terms of gender, age, education, occupation and income had perceived views on corporate image are significantly difference and found all three aspects of Ampol Food’s social and environmental image, consisting of fair business operation, consumer responsibility and community and social development affect the perceived of social activities for the environment in three aspects consisting of social activities, publication and public relations for environment activities and operating the business in accordance with the society and environment with an R2 value of .394 at a level of .000. It also found information that corporate governance processes need to be improved by focusing on external communication to know the corporate governance of the organization in outcome aspect that not only benefits the organization but also the society. And in terms of environmental protection, it can be seen that the organization has operated in that area but there is an overlap with the social side maybe it is because in terms of communication. Therefore, it should be emphasized that it is an environmental project. On the part of doing business with fairness, responsibility to consumers and in the area of community and social development, it is a factor affecting consumer perception which demonstrated operational ability that should maintain good standards for good results.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้และภาพลักษณ์องค์กรด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ เพื่อศึกษาภาพลักษณ์องค์กรด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการรับรู้ในมุมมองของผู้บริโภคบริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัด การวิจัยครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงปริมาณ โดยการสอบถามปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรในมุมมองผู้บริโภคจำนวน 400 กลุ่มตัวอย่าง ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ ผลการศึกษาข้อมูลด้านปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า ผู้บริโภคที่มีปัจจัยส่วนบุคคลในด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ มีความคิดเห็นต่อด้านการรับรู้ด้านการทำกิจกรรมทางสังคมเพื่อสิ่งแวดล้อมของธรุกิจ และภาพลักษณ์ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของอำพลฟูดส์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และพบปัจจัยภาพลักษณ์ด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมของอำพลทั้ง 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค และด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม ส่งผลต่อการรับรู้ด้านการทำกิจกรรมทางสังคมเพื่อสิ่งแวดล้อมของธรุกิจ ทั้ง 3 ด้าน ประกอบด้วย การจัดกิจกรรมทางสังคม การเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม และการดําเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับสังคมสิ่งแวดล้อม โดยมีค่า R2 เท่ากับ .394 ที่ระดับนัย .000  อีกทั้งยังพบข้อมูลว่าต้องมีการปรับปรุงกระบวนการด้านการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยมุ่งเน้นไปที่การสื่อสารสู่ภายนอกเพื่อให้ทราบถึงการกำกับดูแลกิจการขององค์กรในมุมผลลัพธ์ที่ไม่เพียงส่งผลดีต่อองค์กรเท่านั้นแต่ยังส่งผลดีต่อสังคมอีกด้วย และในด้านด้านการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยจะเห็นว่าองค์กรมีการดำเนินการในด้านอยู่แล้วแต่จะมีความซ้อนทับกับด้านสังคม อาจจะเป็นเพราะในแง่ของการสื่อสาร ดังนั้นควรเน้นย้ำเนิ้อหาให้เห็นว่าเป็นโครงการเพื่อสิ่งแวดล้อม ในส่วนของด้านการประกอบธุรกิจด้วยความเป็นธรรม ด้านความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค และด้านการร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการรับรู้ของผู้บริโภค แสดงให้เห็นถึงความสามารถด้านการดำเนินงาน ควรรักษามาตรฐานให้ดีต่อไปเพื่อผลลัพธ์ที่ดีการองค์กรth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการรับรู้th
dc.subjectภาพลักษณ์องค์กรth
dc.subjectสังคมและสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectPerceptionen
dc.subjectImage of Organizationen
dc.subjectCorporate Social Responsibilityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleConsumers’ Perception towards Image of Organization Implementing Concept of Corporate Social Responsibility(Case Study : Ampol Food Processing Ltd.)en
dc.titleการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมในมุมมองของผู้บริโภคกรณีศึกษา บริษัท อำพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จำกัดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61606310.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.