Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSataporn LERTKAMALAen
dc.contributorสถาพร เลิศกมลาth
dc.contributor.advisorSIRICHAI DEELERSen
dc.contributor.advisorสิริชัย ดีเลิศth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:44:49Z-
dc.date.available2021-02-17T03:44:49Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3081-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of the research is to 1) to study the level of technology acceptance of QR code in restaurants 2) to compare the technology acceptance of QR code in restaurants 3) to study the factors of technology acceptance of QR code in restaurants. The research methodology applied descriptive and inferential statistics to describe and analyze. The sample size is 400 and using questionnaire as a tool to collect data. F-test (One-way ANOVA) and t-test was selected to test data and also Structural equation modeling had been used and tested by Smart PLS 3.3.2. The finding shows that 1) the level of technology acceptance of QR code in restaurants, which is perceived usefulness, perceived ease of use, behavioral intention, attitude towards using, social influence, and self-efficacy had been moderate positive. 2) A comparison of technology acceptance of QR code in restaurants shows that perceived ease of use, attitude towards using, self-efficacy has a significant difference statically. 3) the factors of technology acceptance of QR code in restaurants found that attitude towards using affected to behavioral intention, and perceived usefulness, perceived ease of use, self-efficacy, and social influence affected to attitude towards using. In addition, perceived ease of use directly influenced to perceived usefulness. The structural equation modeling can describe the effect of behavioral intention to use QR code is 64.7%.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดภายในร้านอาหาร 2) เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดภายในร้านอาหาร 3) เพื่อศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ดภายในร้านอาหาร กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับประทานอาหารในร้านอาหาร ในพื้นที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย และกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย จำนวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ด้วย  F-test (One way ANOVA)  และ t-test การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (Partial Least Square: PLS) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป SmartPLS 3.3.2 ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด ในด้านการรับรู้คุณประโยชน์ ความง่ายต่อการเรียนรู้ ความตั้งใจในการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม ทัศนคติต่อการใช้งาน การรับรู้ความสามารถของตนเองอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด พบว่า ความง่ายต่อการใช้งาน ทัศนคติต่อการใช้งาน และการรับรู้ความสามารถของตนเอง มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) การศึกษาปัจจัยการยอมรับเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจในการใช้งานคิวอาร์โค้ด คือทัศนคติต่อการใช้งาน และปัจจัยที่มีผลต่อทัศนคติต่อการใช้งาน คือ การรับรู้คุณประโยชน์ ความง่ายในการใช้งาน อิทธิพลทางสังคม และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ทั้งนี้ความง่ายต่อการใช้งานส่งผลต่อการรับรู้คุณประโยชน์ โมเดลสมการโครงสร้างสามารถอธิบายผลของความตั้งใจในการใช้คิวอาร์โค้ดในร้านอาหารได้ร้อยละ 64.7th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectคิวอาร์โค้ดth
dc.subject, การยอมรับเทคโนโลยีth
dc.subjectQR Codeen
dc.subjectTechnology Acceptance Modelen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleA Comparison of Factors influence the acceptance of QR Code adoption in restaurant Kuala Lumpur, Malaysia and Bangkok, Thailanden
dc.titleการเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับนวัตกรรมในการใช้คิวอาร์โค้ดสำหรับร้านอาหารในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียและกรุงเทพมหานคร ประเทศไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61606318.pdf4.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.