Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3118
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPichaya KLAHANen
dc.contributorพิชญา กล้าหาญth
dc.contributor.advisorWISUD PO NEGRNen
dc.contributor.advisorวิสูตร โพธิ์เงินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-05-31T02:21:04Z-
dc.date.available2021-05-31T02:21:04Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3118-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were : 1) to develop and test the efficiency of learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade ten; 2) to evaluate innovator abilities of student after using learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade 10; 3) to survey the students’ satisfactions toward learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade 10. This research was research and development. The sample, selected by a purpose sampling technique comprises 30 grade ten students of Banglane Wittaya School, during the first semester of the academic year 2020. The instruments used for gathering data consisted of: 1) 16 lesson plans 2) innovator abilities evaluation form 3) work pieces’ evaluation form 4) a questionnaire on satisfactions of student toward learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade ten. The mean, the standard derivation of items and content analyze method were used to analyze the gathered data. The results of the study were as follows: 1.The efficiency score of learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade ten which was consisted of 5 steps; 1) preparation and deep understanding step; 2) framing  the problem step; 3) planning and brainstorming step; 4) creating prototype step; 5) testing and assessment step was 81.28/83.86. Consequently, the efficiency score is higher than expected criterion (80/80) 2. The student’s innovator abilities after studying by learning  activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade ten were 2.1) student’s innovator abilities were at a good level; 2.2) student’s work pieces were at a good level. 3. The student’s satisfactions toward learning activity based on design thinking method and project based learning enhance to innovator of student grade ten were at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  2) เพื่อประเมินความเป็นนวัตกรของนักเรียนหลังจากจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบางเลนวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาด้วยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 16 แผนการเรียนรู้ 2) แบบประเมินความเป็นนวัตกร 3) แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (x) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัย พบว่า 1) กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นเตรียมการและทำความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง 2) ขั้นตั้งกรอบปัญหา 3) ขั้นการวางแผน/ระดมความคิด 4) ขั้นต้นแบบ และ 5) ขั้นทดสอบและประเมิน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.28/83.86 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2) ผลการประเมินความเป็นนวัตกรของนักเรียนหลังจากจัดกิจกรรมเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ดังนี้ 2.1 ความเป็นนวัตกรของนักเรียนอยู่ในระดับดี 2.2 ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียนอยู่ในระดับดี 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้, การคิดเชิงออกแบบ, การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน, ความเป็นนวัตกรth
dc.subjectLearning activity / Design thinking / Project based learning / Innovatorsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT LEARNING ACTIVITY BASED ON DESIGN THINKINGMETHOD AND PROJECT BASED LEARNING ENHANCE TO INNOVATOROF STUDENT GRADE 10en
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60263320.pdf8.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.