Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3163
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wich NAPATTALUNG | en |
dc.contributor | วิชย์ ณ พัทลุง | th |
dc.contributor.advisor | nawin baidklang | en |
dc.contributor.advisor | นาวิน เบียดกลาง | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2021-07-09T09:45:18Z | - |
dc.date.available | 2021-07-09T09:45:18Z | - |
dc.date.issued | 2/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3163 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) | th |
dc.description.abstract | This thesis is under the name of “Imperfection in aesthetic. I want to present a story of beauty that constantly changes with time. Being accepted in society is like the first door stepping up to success whether it is wealth, fame or respect. Said that, a good-looking person always being praised with opportunities over others. A greater social opportunity creates discrimination and leads to the struggling pain suffering. Changing oneself to fit-in the needs of society. Many times, these standards of beauty has created a trace of trauma feeling of distress or pressure including being blocked from getting a chance until many people try to convert themselves into something else. This shows some of the inequalities of society through an aesthetic point of view. | en |
dc.description.abstract | ผลงานวิทยานิพลภายใต้หัวข้อ "ความงามในความไม่สมบูรณ์" ข้าพเจ้าต้องการนําเสนอเรื่อง ราวของความงาม ที่เปลี่ยนผันตามกาลเวลาอย่างไม่หยุดนิ่ง การเป็นที่ถูกยอมรับในสังคมเปรียบเสมือน ประตูบานแรกแห่งการก้าวขึ้นไปสู่ความสําเร็จ ไม่ว่าจะเป็นความรํ่ารวย การมีหน้ามีตาในสังคม หรือ การถูกยกย่องชื่นชมจากคนรอบข้าง กล่าวคือคนหน้าตาดีมักได้รับการเชิดชู และโอกาสทางสังคมที่ มากกว่า ก่อให้เกิดการแบ่งแยกและการเลือกปฏิบัติอันนํามาสู่ความเจ็บปวดของการดิ้นรน เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเองให้ตรงตามความต้องการของสังคม หลายครั้งที่มาตรฐานความงามเหล่านี้ ได้สร้างร่องรอยความบอบชํ้า ความรู้สึกทุกข์ใจ หรือ ความกดดัน รวมถึงการถูกปิดกั้นไม่ให้ได้รับโอกาส จนหลายคนพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง เพื่อให้ พอดีกับมาตรฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงความเหลื่อมลํ้าบางอย่างของสังคมผ่านมุมมองความงาม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ความงาม | th |
dc.subject | ความเหลื่อมล้ำ | th |
dc.subject | สตรเพศ | th |
dc.subject | ผู้กระทำกับผู้ถูกกระทำ | th |
dc.subject | Beauty | en |
dc.subject | Inequality | en |
dc.subject | Feminism | en |
dc.subject | Masculine gender | en |
dc.subject | The offender | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Imperfection in aesthetic | en |
dc.title | ความไม่สมบูรณ์แบบในความงาม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620120027.pdf | 4.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.