Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSrisakul PADCHAROENen
dc.contributorศรีสกุล พัดเจริญth
dc.contributor.advisorPRECHAYA MAHATTANATAWEen
dc.contributor.advisorปรีชญา มหัทธนทวีth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2021-07-09T09:46:36Z-
dc.date.available2021-07-09T09:46:36Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3169-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstract          This research aimed to study the retention factors of craftsmen in Thai architectural construction organizations. The scope of study in type of craftsmen consisted of carpenters, plasterers,  and sculptors who have worked for ten years or more in current Thai architectural construction organizations located in Bangkok and vicinity.           This study was conducted by interviewing ten craftsmen from five organizations. The retention factors studied were based on Frederick Herzberg's Two-Factor Theory, which includes motivation and hygiene factors. The results of the study showed that in terms of motivation factors, all interviewed craftsmen were satisfied with work itself, advancement and responsibility. The results also showed that hygiene factors causing all craftsmen remaining in the organization for a long time included interpersonal relations with peers, interpersonal relations with subordinate, working conditions, welfares, and job security. In addition, most interviewers agreed that work itself and interpersonal relations with superior were motivation and hygiene factors, respectively that were important to retain in the organizations.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการคงอยู่ของช่างฝีมือในองค์กรก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมไทย โดยมีขอบเขตของการศึกษาช่างฝีมือ คือ ประเภทช่างไม้ ช่างปูน และช่างปั้น ที่มีอายุการทำงานในองค์กรปัจจุบัน 10 ปีขึ้นไป จากองค์กรงานก่อสร้างสถาปัตยกรรมไทยที่ตั้งอยู่ในจังหวัดกรุงเทพฯ และปริมณฑล การศึกษานี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์ช่างฝีมือจำนวน 10 คน จาก 5 องค์กร โดยปัจจัยการคงอยู่ที่ทำการศึกษาอ้างอิงจากทฤษฎีสองปัจจัย (Two-Factor Theory) ของเฟรเดอริก เฮิร์ซเบิร์ก (Frederick Herzberg) ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยจูงใจ และ ปัจจัยพื้นฐาน ผลการศึกษาพบว่า ในด้านปัจจัยจูงใจ ช่างฝีมือที่ให้สัมภาษณ์ทุกคนมีความพึงพอใจในด้านลักษณะงานที่ทำ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และความรับผิดชอบ ในด้านปัจจัยพื้นฐาน ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใต้บังคับบัญชา สภาพแวดล้อมในการทำงาน สวัสดิการ และความมั่นคงในการทำงาน เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ช่างฝีมือในองค์กรทุกคนมีความคิดเห็นว่าทำให้คงอยู่ในองค์กรมายาวนาน นอกจากนี้ผลการศึกษาความสำคัญของปัจจัยจูงใจ และปัจจัยพื้นฐานที่มีผลต่อการคงอยู่ในองค์กรของช่างฝีมืองานสถาปัตยกรรมไทย พบว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า ลักษณะงานที่ทำ เป็นปัจจัยจูงใจที่มีความสำคัญต่อการคงอยู่ในองค์กร และ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชา เป็นปัจจัยพื้นฐานที่มีความสำคัญต่อการคงอยู่ในองค์กรth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectช่างฝีมือth
dc.subjectสถาปัตยกรรมไทยth
dc.subjectปัจจัยคงอยู่th
dc.subjectทฤษฎีสองปัจจัยth
dc.subjectCraftsmanen
dc.subjectThai Architectureen
dc.subjectRetention Factorsen
dc.subjectTwo-Factor Theoryen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleRetention Factors of Craftmen in Thai Architectural Construction Organizationsen
dc.titleปัจจัยการคงอยู่ของช่างฝีมือในองค์กรก่อสร้างงานสถาปัตยกรรมไทยth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59055305.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.