Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWaranchit CHAENGKRAJANGen
dc.contributorวรัญชิต แจ้งกระจ่างth
dc.contributor.advisorJeerasak Kuesomboten
dc.contributor.advisorจีรศักดิ์ เกื้อสมบัติth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2021-07-09T09:46:40Z-
dc.date.available2021-07-09T09:46:40Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3179-
dc.descriptionMaster of Architecture (M.Arch)en
dc.descriptionสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.abstractThis thesis originated from the concept of Retro Future appeared in literature and cinema. It refers to concepts about the future, predicting future situations which was a well-known concept during the 1930-1980. Retro Future also involves many branches of art, predicting the future based on current socio-cultural situations of each period. It was often manifested through architecture, dwellings, cities and our environment. The aim of this study is to inquire into the nature of concepts about the Future occurred in each period, that also reflected architectural and urban ideas. The research aims to study different types of architecture that bear upon concepts about the Future as well as Utopia, in order to categorize and understand them. Architecture and urban ideas as well as products related to the concept of Retro-Future will be studied. The result of this study is to try to understand the transformation of Retro-Future concept that was manifested in different types of architecture. Focusing on the notion of Metabolism, the research aims to study its foundation, limitation as well as possibilities to be developed and transformed into architecture of later periods.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เกิดขึ้นจากความสนใจในเรื่องของภาพยนตร์และสื่อวรรณกรรมไซไฟและเรื่องของแนวคิด Retro Future (แนวคิดเกี่ยวกับโลกอนาคตที่เกิดจากในอดีต) ซี่งมีเนื้อหาหลักกล่าวถึงโลกอนาคตและการคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งเป็นแนวคิดที่แพร่หลายในช่วง ค.ศ. 1930 -1980 ผ่านการเคลื่อนไหวของแนวคิดและศิลปะที่พรรณนาถึงอนาคตโดยมีเค้าโครงมาจากสภาพสังคมและสถานการณ์ในปัจจุบันของแต่ละยุคสมัย ซึ่งมุ่งเน้นไปที่สภาพแวดล้อม เมือง สถาปัตยกรรม และอาคารที่พักอาศัย ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต วัตถุประสงค์ของในการศึกษานี้จะมุ่งศึกษาไปที่ปัจจัยของการมองภาพอนาคตในแต่ละยุคสมัยและแนวคิดการออกแบบเมืองและสถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีแนวคิดการออกแบบของโลกอนาคต ว่ามีงานสถาปัตยกรรมแบบใดบ้างที่มีแนวคิดเกี่ยวกับโลกในอนาคตและโลกในอุดมคติ (Utopia) เพื่อนำมาศึกษาจัดหมวดหมู่และคัดเลือกเนื้อหาเพื่อนำไปค้นคว้าต่อและศึกษาข้อมูลเจาะลึกเกี่ยวกับด้านแนวคิด คุณลักษณะ องค์ประกอบ และรูปแบบของงานสถาปัตยกรรมทั้งที่ถูกสร้างและไม่ถูกสร้างจริง ซึ่งจะนำผลลัพธ์ที่ได้มาหาคำตอบเกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรมและจุดเชื่อมโยงเกี่ยวกับแนวคิด Retro – Future โดยผลลัพธ์ของการศึกษาจะมุ่งเน้นไปที่ปัจจัยของแนวคิดและข้อจำกัดของงานสถาปัตยกรรมที่มีพื้นฐานความคิด Retro-Future ว่ามีความเปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธ์ในลักษณะใดบ้างหรือไม่ และศึกษาเปรียบเทียบกับบริบทของความคิดในช่วงเวลาเดียวกัน โดยเน้นไปที่แนวความคิดที่มีชื่อเรียกว่า Metabolism เพื่อทำความเข้าใจที่มา การเปลี่ยนแปลง และเหตุผลที่แนวคิดของงานสถาปัตยกรรม Metabolism นั้นถูกสร้างออกมาเป็นงานจริงน้อยมาก ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ มีความเกี่ยวของกับแนวคิดโลกอนาคตของ Retro – Future ในแง่ใด และถูกนำมาพัฒนาสัมพันธ์กับงานสถาปัตยกรรมในยุคต่อมาอย่างไรบ้างth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectแนวคิดเกี่ยวกับโลกอนาคตที่เกิดจากในอดีตth
dc.subjectโลกในอุดมคติth
dc.subjectการคาดการณ์อนาคตth
dc.subjectRETRO FUTUREen
dc.subjectIDEAL ARCHITECTUREen
dc.subjectARCHITECTURE OF THE FUTUREen
dc.subjectMETABOLISMen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleRETRO-FUTURISTIC ARCHITECTUREen
dc.titleการออกแบบสถาปัตยกรรมในอดีตที่มาจากแนวคิดของโลกอนาคตth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620220013.pdf8.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.