Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3206
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pananya TARIBOOTARA | en |
dc.contributor | พนัญญา ไตรบุตร | th |
dc.contributor.advisor | SUPAVEE SIRINKRAPORN | en |
dc.contributor.advisor | สุภาวี ศิรินคราภรณ์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Decorative Arts | en |
dc.date.accessioned | 2021-07-20T04:08:21Z | - |
dc.date.available | 2021-07-20T04:08:21Z | - |
dc.date.issued | 2/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3206 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to create jewelry that can mask or obscure the physical to divert landmarks and soothe the minds of people with facial deformities to feel relaxed, reduce stress and depression, and build confidence that will lead to more courage in daily life with others in society. This research process started researching information related to facial deformities to problems and effects. Then, the researcher surveyed the area to collect data for analysis. It was concluded that the highest psychological effects were anxiety and lack of self-confidence. Therefore, the researcher searched for psychological theories to build confidence and heal the mind. Three theories were found as follows: Albert Ellis's theory of constructive cognition to bring about a positive emotional state, Adler's theory of prominence to compensate for inferiority, and James Lang's theory of emotional growth of the body. After that, the researchers designed the jewelry into 3 groups according to the theoretical approach and then experimented with materials and techniques that promote emotions as well as creating jewelry masterpieces that can build confidence for people with facial deformities for enhancing their life to live happily with others in society. The findings revealed that jewelry group 1 can heal the wearer's mind to become more self-confident by communicating with oneself through the mirror with positive words to instill good faith and memory, group 2 can be physically masked or covered to distract from observations and promote self-confidence traits and group 3 can enhance the wearer's confidence by adjusting the physical characteristics that affect the mental state to have more self-confidence. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสรรค์เครื่องประดับที่สามารถปกปิด หรือสร้างความคลุมเครือทางกายภาพ เพื่อเบี่ยงเบนความเป็นจุดสังเกตและบรรเทาสภาพจิตใจของกลุ่มคนที่มีความผิดปกติทางใบหน้าให้มีความรู้สึกผ่อนคลาย ลดความเครียด ความหดหู่ และเสริมสร้างความมั่นใจที่จะนำไปสู่ความกล้าหาญในการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้มากยิ่งขึ้น โดยกระบวนการวิจัยในครั้งนี้มีขั้นตอนเริ่มต้นจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติบนใบหน้าจนถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากนั้นจึงลงพื้นที่เพื่อทำการเก็บข้อมูล แล้วจึงนำมารวบรวมและทำการวิเคราะห์ซึ่งได้ข้อสรุปว่า ผลกระทบที่เกิดขึ้นทางจิตใจมีมากที่สุด โดยเฉพาะความรู้สึกวิตกกังวลและการขาดความมั่นใจในตนเอง ผู้วิจัยจึงศึกษาค้นหาแนวทางทฤษฎีทางจิตวิทยาเพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและช่วยเยียวยาจิตใจ ซึ่งพบว่ามี 3 ทฤษฎีด้วยกันคือ ทฤษฎีการสร้างกระบวนการการรับรู้ที่ดีเพื่อนำมาสู่สภาวะทางอารมณ์ที่ดีของอัลเบิร์ต แอลลิส ทฤษฎีการสร้างปมเด่นเพื่อชดเชยปมด้อยของแอดเลอร์ และทฤษฎีอารมณ์เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของร่างกายของเจมส์ แลงส์ จากนั้นผู้วิจัยจึงทำการออกแบบเครื่องประดับโดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มตามแนวทางของทฤษฎี แล้วจึงทำการทดลองวัสดุและเทคนิคที่ช่วยส่งเสริมความรู้สึก รวมถึงการนำมาใช้สร้างสรรค์ชิ้นงานเครื่องประดับที่ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจให้กับกลุ่มคนที่มีความผิดปกติบนใบหน้า ทำให้สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขมากยิ่งขึ้น ผลการวิจัยพบว่า เครื่องประดับในกลุ่มที่ 1 สามารถช่วยเยียวยาจิตใจของผู้สวมใส่ให้มีความมั่นใจในตนเองได้มากยิ่งขึ้น จากการสื่อสารกับตนเองผ่านกระจกด้วยคำพูดเชิงบวก เพื่อปลูกฝังความเชื่อและภาพจำที่ดีให้กับตนเอง เครื่องประดับในกลุ่มที่ 2 สามารถปกปิดหรือสร้างความคลุมเครือทางกายภาพเพื่อเบี่ยงเบนความเป็นจุดสังเกต และช่วยส่งเสริมลักษณะที่บ่งบอกถึงความมั่นใจในตนเองได้ และเครื่องประดับในกลุ่มที่ 3 สามารถเสริมสร้างความมั่นใจให้กับผู้สวมใส่ได้ด้วยการปรับลักษณะทางกายภาพ อันส่งผลถึงสภาพจิตใจ ให้มีความมั่นใจในตนเองได้มากยิ่งขึ้น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Jewelry Design Project to Enhance Confidence for People with Facial Deformity | en |
dc.title | โครงการออกแบบเครื่องประดับที่ช่วยเสริมสร้างความมั่นใจให้กับกลุ่มคนที่มีความผิดปกติทางใบหน้า | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Decorative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59157303.pdf | 7.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.