Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhatteera WONGSAWADEEen
dc.contributorภัทร์ธีรา วงษาวดีth
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:05Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:05Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3253-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1) the managerial skills of administrators under the secondary educational service area office 8, 2) the organizational culture of schools under the secondary educational service area office 8, and 3) the managerial skills of administrator affecting organizational culture of schools under the secondary educational service area office 8. The sample were 48 schools under the secondary educational service area office 8. The respondents consisted of a school director, a head of department of education, and a teacher with the total of 144. The research instrument was a questionnaire about the managerial skills of administrators based on Griffin concept organizational culture based on Patterson, Purkey and Parker concept. The statistics were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Stepwise multiple regression analysis. The results were as follow : 1. The managerial skills of administrators under the secondary educational service area office 8, as a whole and as an individual aspect; was at a high level; ranking by arthmetic mean from high to low were conceptual skill, interpersonal skill, communication skill, technical skill, time-management skill, diagnostic skill, and decision-making skill. 2. The organizational culture of schools under the secondary educational service area office 8 , as a whole and as an individual aspect; was at a high level; ranking by arthmetic mean from high to low were integrity,  organization purposes, quality, trust, empowerment,  sense of community,  diversity,  decision making, recognition, and caring            3. Time-management skill, and the interpersonal skill affected the organizational culture of schools under the secondary educational service area office 8 were overall significantly different at the statistical level of .01en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 2) วัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 3) ทักษะการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8  สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 เป็นหน่วยวิเคราะห์ จำนวน 48 โรงเรียน กำหนดผู้ให้ข้อมูล โรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย 1) ผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน 2) หัวหน้างาน หรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ จำนวน 1 คน และ 3) ครู จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 144 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารใช้แนวคิดของกริฟฟิน วัฒนธรรมองค์การ ใช้แนวคิดของ แพตเตอร์สัน เพอร์กี้และปาร์คเกอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.  ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยดังนี้ ทักษะด้านความคิดรวบยอด ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะติดต่อสื่อสาร ทักษะด้านเทคนิค ทักษะการบริหารเวลา ทักษะการวินิจฉัย และทักษะการตัดสินใจ ตามลำดับ 2.  วัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยดังนี้ คือ ความซื่อสัตย์ เหป้าประสงค์ของสถานศึกษา ความเป็นเลิศ ความไว้วางใจ และความเชื่อมั่น การสร้างเสริมพลังอำนาจ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา ความหลากหลาย การตัดสินใจ การยอมรับ และการเอื้ออาทร ตามลำดับ 3.  ทักษะการบริหารของผู้บริหาร ด้านทักษะการบริหารเวลา และ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทักษะการบริหาร / วัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษาth
dc.subjectADMINISTRATORS’ SKILLS / ORGANIZATIONAL CULTUREen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMANAGERIAL SKILLS OF ADMINISTRATOR AFFECTING ORGANIZATIONAL CULTURE OF SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONALSERVICE AREA OFFICE 8en
dc.titleทักษะการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อวัฒนธรรมองค์การของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59252320.pdf6.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.