Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBunrada YURACHARTen
dc.contributorบุณรดา ยุรชาติth
dc.contributor.advisorEknarin Bangthamaien
dc.contributor.advisorเอกนฤน บางท่าไม้th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:08Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:08Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3265-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were: 1) To study learning achievement between pretest and posttest of students study e-learning by project based learning with the online social network. 2) To study the ability to create media of public relations. 3) To study the interaction of the group in e-learning by project based learning with the online social networks. 4) To study student's opinions toward e-learning by project based learning with the online social network of public relations. The sample used in the research consisted of undergraduate students in the Faculty of Education, Silpakorn University, Sanam Chandra Palace Campus in registration subject 468208 Public Relations of 2020. The number of students is fifty-eight. The Instruments of this research were: 1) Structure interview. 2) Lesson plan of e-learning by project based learning with the online social network. 3) E-learning by project based learning with the online social network. 4) Evaluation of the ability to create media of public relations. 5) The achievement test of public relations. 6) A model for observing the interaction behavior within the group in E-learning by project based learning with the online social network. 7) Questionnaire Form on student's opinion to e-learning by project based learning with the online social network of public relations. The data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test The results were as follows: 1)  Learning achievement after study has a higher score than academic achievement before study at 0.05 level of significance. 2)  The ability to create media of public relations was good levels. (score average is 79.50) 3)  The interaction behavior within the group in E-learning by project based learning with online social network was a good level. (score average is 16.50) 4)  The opinion of students to e-learning by project based learning with the online social network of public relations was a good level. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน ของนักศึกษาที่เรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3) เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มในการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงานร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ที่ลงทะเบียนเรียนในวิชา 468208 หลักการประชาสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2563 จำนวน 58 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แผนการจัดการเรียนรู้การเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ 3) อีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ 4) แบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ 5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ 6) แบบสังเกตพฤติกรรมการมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มในการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน 7) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติที่ทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนในรายวิชาหลักการประชาสัมพันธ์ ปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน มีคะแนนสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการวิเคราะห์คะแนนความสามารถในการสร้างสรรค์สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ของผู้เรียน พบว่า ความสามารถในการสร้างสรรค์สื่อประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 79.50 3) ผลการวิเคราะห์คะแนนพฤติกรรมการมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่ม ในการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ของผู้เรียน พบว่า มีปฏิสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกันอยู่ในระดับดี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.50 4) ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ วิชาหลักการประชาสัมพันธ์ มีคุณภาพโดยรวมอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการเรียนอีเลิร์นนิงแบบโครงงานth
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th
dc.subjectปฏิสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกันth
dc.subjectPROJECT BASED E-LEARNINGen
dc.subjectONLINE SOCIAL NEYWORKen
dc.subjectINTERACTIVE WORKINGen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEffects of project based e-learning with social media toolson interactive working group for productionof public relations media for ungraduate studentsen
dc.titleผลการใช้อีเลิร์นนิงแบบโครงงาน ร่วมกับเครื่องมือสื่อสารสังคมออนไลน์ที่มีต่อปฏิสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกัน เพื่อผลิตสื่อประชาสัมพันธ์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59257304.pdf6.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.