Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3277
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChiraphat THIPANYAen
dc.contributorจิรภัทร์ ธิปัญญาth
dc.contributor.advisorChairat Tosilaen
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ โตศิลาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:11Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:11Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3277-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were: 1) compare self-efficacy for eleventh grade students before and after the usage of guidance activities applied with metacognition strategies 2) compare decision-making skills for eleventh grade students before and after the usage of guidance activities applied with metacognition strategies. One Group Pretest - Posttest Design design was applied in this study. The sample of this research consisted of 30 students of grade 11/7 studying in the second semester year 2020 in Srisawatwittayakran School, Nan. The instruments used for collecting data consisted of 1) The instrument three unit plans by using guidance activities applied with metacognition strategies 2) self - efficacy assessment 3) the decision - making skill test.  The statistics used to analyze the data were mean (M), standard deviation (SD) and t - test dependent. The results of the study were as follows: 1. The self - efficacy of eleventh grade students after learning guidance activities metacognition strategies higher than before learning at the significance level of .05 2.  The decision making skill of eleventh grade students after learning guidance activities metacognition strategies higher than before learning at the significance level of .05en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชัน และ 2) เปรียบเทียบทักษะการตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชัน ดำเนินการทดลองตามแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest - Posttest Design design กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 จำนวน 30 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่ 1) แผนหน่วยการจัดกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันจำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้  2) แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง 3) แบบวัดทักษะการตัดสินใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (M ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน  (t-test dependent) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) การรับรู้ความสามารถของตนเองของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ทักษะการตัดสินใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกิจกรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันth
dc.subjectการรับรู้ความสามารถตนเองth
dc.subjectทักษะการตัดสินใจth
dc.subjectGUIDANCE ACTIVITIES APPLIED WITH METACOGNITION STRATEGIESen
dc.subjectSELF-EFFICACYen
dc.subjectDECISION-MAKING SKILLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEFFECTS OF USING THE GUIDANCE ACTIVITIES APPLIED WITH METACOGNITION STRATEGIES TO ENHANCE SELF - EFFICACY AND DECISION - MAKING SKILLS OF ELEVENTH GRADE STUDENTSen
dc.titleผลการใช้กิจกรรรมแนะแนวตามกลวิธีเมตาคอกนิชันเพื่อเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองและทักษะการตัดสินใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59263302.pdf4.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.