Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3299
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNittiya NGAOOSAen
dc.contributorนิตติยา เหง้าโอสาth
dc.contributor.advisorMEECHAI IAMJINDAen
dc.contributor.advisorมีชัย เอี่ยมจินดาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:18Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:18Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3299-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) compare teachers' knowledge about Professional Learning Community (PLC) and learning management using the 5W 1H question technique before and after using Professional Learning Community (PLC) 2) study teacher learning  management abilities about reading comprehension using the 5W 1H question technique 3) compare reading comprehension abilities of 5 grade students before and after being taught by the 5W 1H question technique and compare after studying according to the criteria of 75 percent and 4) study teachers’ opinions towards using Professional Learning Community (PLC) and leaning management by using the 5W 1H question technique. The sample used in the study were 1) 3 groups of 5 Grade students from Wat Nong Khaem (Saharat Burana) school during the second semester of academic year 2019. 115 students were randomly selected by using classroom as a unit. 2)  3 Thai teachers on 5 Grade selected by using classroom from the sample during the second semester of academic year 2019.  The research instruments were a test for teachers on PLC and the 5W 1H question technique, a learning management observation, lesson plan, comprehension reading test and a questionnaire for teachers' opinions with PLC and the 5W 1H question technique. The collected data were analyzed by mean (x̄), standard deiation (S.D.), Percentage, t-test Dependent and One Sample t-test. The findings were as following: 1) The teacher s' knowledge about PLC and learning management using the 5W 1H question technique were higher than before. 2) The teacher learning management abilities about reading comprehension by using the 5W 1H question was rated at the excellent level. 3) The reading for comprehension abilities of 5 grade students after studying by the 5W 1H question technique was significantly higher before at the .05 level and passed 75% 4) The opinions of Thai teachers towards using PLC and the 5W 1H question technique was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความรู้ของครูเกี่ยวกับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H ก่อนและหลังสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2) ศึกษาความสามารถของครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H ก่อนเรียนและหลังเรียน และเปรียบเทียบหลังเรียนตามเกณฑ์ร้อยละ 75 และ 4) ศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดหนองแขม (สหราษฎร์บูรณะ) ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 3 ห้องเรียนมีนักเรียนทั้งสิ้น 115 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม และ 2) ครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 3 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจงตามห้องเรียนที่สอนในกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวัดความรู้ของครูเกี่ยวกับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H แบบสังเกตการสอนของครู แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความ และแบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ค่าร้อยละ ค่าที (t-test) แบบ Dependent และแบบ One Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ความรู้ของครูเกี่ยวกับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H หลังสร้างสูงกว่าก่อนสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2. ความสามารถของครูด้านการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H อยู่ในระดับดีมาก 3. ความสามารถด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และความสามารถด้านการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1H โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพth
dc.subjectการอ่านจับใจความth
dc.subjectเทคนิคคำถาม 5W 1Hth
dc.subjectTHE PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITYen
dc.subjectREADING COMPREHENSION ABILITIESen
dc.subject5W 1H QUESTION TECHNIQUEen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF THE PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY FOR THAI TEACHERS OF PRATHOMSUKSA 5 TO ENHANCE READING COMPREHENSION ABILITY USING 5W 1H QUESTION TECHNIQUEen
dc.titleการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ครูภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความ โดยใช้เทคนิคคำถาม 5W 1Hth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255403.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.