Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChutima PANTUMARTen
dc.contributorชุติมา พันธุมาตร์th
dc.contributor.advisorKITTIKOM KAVEERATen
dc.contributor.advisorกิตติคม คาวีรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:24Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:24Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3309-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe aims of this research were 1) to develop learning management of design thinking to enhance problem-solving ability in physics problems with an efficiency criterion of 80/80, 2) to investigate the problem-solving ability after using design thinking approach, 3) to evaluate the scientific mind of students after learning management through design thinking, and 4) to study the relationship between the ability to solve physics problems and the scientific mind of tenth grade students. The sample in this research were 20 students of tenth grade class one Srakrachomsoponpittaya school, Don Chedi district Suphanburi province, in the first semester of the academic year 2020. The sample was selected by using cluster random sampling method, using a class as a cluster. The research tools were 1) three units of learning management of design thinking for tenth grade students, 2) physics problem-solving ability assessment form, 3) scientific mind assessment of tenth grade students after using the design thinking approach. Analyze data to find a mean score and standard deviation. The results of this study: 1) The developed learning management of design thinking to enhance problem-solving ability in physics problems and the scientific mind of tenth grade students had an efficiency value of 80.33/84.00 2) The ability to solve physics problems of tenth grade students after using the design thinking approach was at a good level. 3) The scientific mind of tenth grade students after using the design thinking approach was at an excellent level. 4) The relationship between the ability to solve physics problems and the scientific mind of tenth grade students were at a moderate level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพ E1 / E2 ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ 3) เพื่อประเมินจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ และ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์กับจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนสระกระโจมโสภณพิทยา อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 มีนักเรียนจำนวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการการวิจัย ได้แก่ 1) หน่วยการเรียนรู้ ตามแนวคิดเชิงออกแบบ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 3 หน่วย 2) แบบประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์ 3) แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าคะแนนเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์ และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ 80.33/84.00 2) ความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบ อยู่ในระดับดี 3) จิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิง อยู่ในระดับมาก 4) ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์กับจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความสัมพันธ์กันอยู่ในระดับปานกลางth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบth
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์th
dc.subjectจิตวิทยาศาสตร์th
dc.subjectDESIGN THINKING PROCESSen
dc.subjectSOLVING ABILITY IN PHYSICSen
dc.subjectSCIENTIFIC MINDen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF PROBLEM - SOLVING ABILITY IN PHYSICS AND SCIENTIFIC MIND FOR TENTH GRADE STUDENTS BY LEARNING MANAGEMENT OF DESIGN THINKINGen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาฟิสิกส์และจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเชิงออกแบบth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61263302.pdf12.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.