Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3310
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSudarat KONGWICHIANen
dc.contributorสุดารัตน์ คงวิเชียรth
dc.contributor.advisorSIRIWAN VANICHWATANAVORACHAIen
dc.contributor.advisorศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัยth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:25Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:25Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3310-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to compare the mathematics learning results on surface area and volume of ninth grade students before and after using the design thinking approach, 2) to study the development of mathematical skills and processes of ninth grade students after learning management through Design Thinking, 3) to study the satisfaction of ninth grade students with learning management through the design thinking. The sample in this research were 27 students of ninth grade class 4 Srakrachomsoponpittaya school in the first semester of the academic year 2020. The sample was selected by using the cluster random sampling method. The research tools were 1) unit plan of surface area and volume, 2) a mathematics learning test on surface area and volume, 3) assessment of mathematical skills and processes, 4) questionnaire on the satisfaction of ninth grade students towards learning management through the design thinking. The data were analyzed by mean score, standard deviation, and dependent t-test. The results of this study: 1) After using design-thinking learning management, the mathematics learning outcomes of ninth grade students were significantly higher than before at the .05 level. 2) Mathematics skills and processes of ninth grade students after learning management through design thinking was at a good level. 3) The satisfaction of ninth grade students with learning management through design thinking was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ 2) เพื่อศึกษาพัฒนาการทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4 ของโรงเรียนสระกระโจมโสภณพิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 27 คน ซึ่งได้มาจากวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) หน่วยการจัดการเรียนรู้ (Unit Plan) เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร 3) แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ อยู่ในระดับดี 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบ อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบth
dc.subjectทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectDESIGN THINKING PROCESSen
dc.subjectMATHEMATICAL SKILLS AND PROCESSESen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF MATHEMATICS PROCESS AND SKILLSOF SURFACE AREA AND VOLUME BY DESIGN THINKING PROCESS OF NINTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตรโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61263313.pdf7.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.