Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3370
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiriwat CHAISIRIen
dc.contributorศิริวัชร ไชยศิริth
dc.contributor.advisorSaksit Rachruken
dc.contributor.advisorศักดิ์สิทธิ์ ราชรักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Musicen
dc.date.accessioned2021-07-20T08:28:56Z-
dc.date.available2021-07-20T08:28:56Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3370-
dc.descriptionMaster of Music (M.Mus)en
dc.descriptionดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aimed to develop a management guideline for independent artists. For this purpose, the problems and obstacles encountering artists that managing their own bands are sough and critically reviewed. Also, the Service Marketing Mix variables that affect employer’s decision of booking artists' performances and consumer’s decision of visiting independent artists' music performances are identified. The methodology of this research is mix of qualitative and quantitative research including 3 part following. The qualitative research in the first and second part. The quantitative research in third part. First, 3 independent artists who able to create their own song are in-depth interview. Second, 2 employee who hired independent artists' music performances are in-depth interview. Third, 400 questionnaires are collected from online consumer who shared independent artist songs. To analyze, this research use statistic tools including distribution of frequency, percentage, mean and standard deviation. The research concludes that significant problems and obstacles encountering artists is lacking marketing and communication plan knowledge. Moreover, Service Marketing Mix (7P’s) variables that affect employer is product which is the artist’s song that affect either employer or consumer decision. For artist development guideline, there are 5 strategies including solidarity among band and staff, artist’s self-awareness of their key message, consumer empathy, support team, clear contact.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่กลุ่มศิลปินอิสระพบ จากการบริหารจัดการวงดนตรีที่ตนสังกัด 2) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อผู้ประกอบการในการว่าจ้างศิลปินอิสระทำการแสดงดนตรี 3) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการ ที่ส่งผลต่อผู้บริโภคการเข้าชมการแสดงดนตรีของศิลปินอิสระ 4) เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการสำหรับศิลปินอิสระ ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Methodology) ระหว่าง การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประกอบด้วย 3 ส่วน สำหรับส่วนที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากศิลปินอิสระ จำนวน 3 ราย ส่วนที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ประกอบการ จำนวน 2 ราย ส่วนที่ 3 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการเก็บแบบสอบถามจากผู้บริโภค จำนวน 400 ราย เพื่อใช้สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลประกอบไปด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการศึกษาพบว่า ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญที่สุดในการบริหารจัดการวงดนตรีของศิลปินอิสระคือ การขาดการวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์ โดยปัจจัย ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) อันได้แก่ ผลงานเพลงของศิลปินอิสระ ส่งผลต่อผู้ประกอบการในการว่าจ้างศิลปินอิสระทำการแสดงดนตรีมากที่สุด อีกทั้ง ผลงานเพลงของศิลปินอิสระ ยังคงเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ส่งผลต่อผู้บริโภค การเข้าชมการแสดงดนตรีของศิลปินอิสระเช่นกัน และในส่วนของแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการสำหรับศิลปินอิสระ (S-SET-C) นั้นมีทั้งหมดด้วยกัน 5 กลยุทธ์ ประกอบไปด้วย 1) มีเอกภาพ (Solidarity) 2) เข้าใจอัตลักษณ์ในการสื่อสารของตน (Self-awareness) 3) คาดการณ์กลุ่มผู้บริโภค (Empathy)  4) มีทีมงานสนับสนุน (Team) และ 5) มีเอกสัญญา ที่ชัดเจน (Clear contract) โดยผลการวิจัยในครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการต่อยอดสำหรับการพัฒนาการบริหารจัดการศิลปินอิสระ ในแง่มุมอื่นที่มีความเฉพาะและแตกต่างกันออกไป อีกทั้งยังเป็นตัวช่วยในการเริ่มต้นสำหรับผู้ที่สนใจในการเป็นศิลปินอิสระth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารจัดการศิลปินth
dc.subjectศิลปินอิสระth
dc.subjectArtist developmenten
dc.subjectIndependent artisten
dc.subjectDIY artisten
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleMANAGEMENT GUIDELINES FOR ARTIST DEVELOPMENT: CASE STUDY INDEPENDENT ARTISTSen
dc.titleแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการศิลปินกรณีศึกษาศิลปินอิสระที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานเพลงได้ด้วยตนเองth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61701323.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.