Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNorabhat CHINAHONGen
dc.contributorนรภัทร จินาห้องth
dc.contributor.advisorMANASSINEE BOONMEESRISA-NGAen
dc.contributor.advisorมนัสสินี บุญมีศรีสง่าth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2021-07-27T08:08:48Z-
dc.date.available2021-07-27T08:08:48Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3451-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis research aims 1) to study the difference between expectations and satisfaction from using Kuakarun Nursing Library services, Navamindradhiraj University in 4.0 Era. 2) to predict the independent variable (gender) on the likelihood of accepting additional wish lists in the library: dependent variable and 3) to predict the independent variable (patron) on the likelihood of accepting additional wish lists in the library: dependent variable. This research used the quantitative methods. Samples used in the quantitative research method comprised 350 members of the Central Library of Navamindradhiraj University and used the concept of service quality (SERVQUAL) to collect data through questionnaires. Descriptive statistic was used to draw conclusions in the primary data, such as frequency, percentage, mean, and standard deviation. Then, it was statistically tested by Paired t-Test. Because the questionnaire has two parts: the service expectation and service perception, one respondent makes the data dependent from each other and have a ratio in 1:1 (service expectation: service perception) or in pair under the same conditions. This leads to deploy Paired t-Test statistic and use Binary Logistic Regression Analysis for variable prediction. With the majority of the respondents, when classified by patron group, the result showed that 271 people (77.4%) of Kuakarun Faculty of Nursing students used high often; 28 people (8%) of students of Faculty of Medicine Vajira Hospital; 21 people (6%) of staffs; 16 people (4.6%) of students of faculty of Science and Health Technology; 6 people  (1.7%) of professors; 5 people (1.4%) of students of Urban Community Development College; 3 people (0.9%) of students of Institute of Metropolitan Development, respectively. Most of the respondents used the service 1-2 times per week from during 2:00 - 5:00 P.M. and the main purpose of patron aims to get the books checked-out. Overall, the patron in Kuakarun Nursing Library had high levels of expectation and satisfaction. Having been tested for binary logistic regression, it was found that female and student patron members were able to predict the likelihood of accepting additional wish lists in the library. The consensus was to create an additional meeting room (self-study room), an electronic bulletin board, as well as a self-service book scanner.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความคาดหวังและความพึงพอใจจากการใช้บริการห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ยุค 4.0 2) เพื่อทำนายตัวแปรอิสระ (เพศ) ที่มีต่อโอกาสที่จะยอมรับสิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมในห้องสมุด และ 3) เพื่อทำนายตัวแปรอิสระ (ผู้ใช้บริการ) ที่มีต่อโอกาสที่จะยอมรับสิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมในห้องสมุด โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ สมาชิกหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จำนวน 350 คน และใช้แนวคิดคุณภาพการบริการ (SERVQUAL) มาใช้ในการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistic) เพื่อหาข้อสรุปในขั้นปฐมภูมิ (Primary Data) ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบทางหลักสถิติแบบ Paired t- Test เนื่องจากการตอบแบบสอบถามมีสองส่วน (ส่วนความคาดหวังในการบริการและการรับรู้ในการบริการ) โดยผู้ตอบเป็นคนเดียวกันทำให้ข้อมูลไม่เป็นอิสระต่อกัน และมีความสัมพันธ์ในลักษณะ 1 : 1 หรือเป็นคู่ภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน นำมาซึ่งเป็นเหตุผลในการเลือกใช้สถิติการทดสอบแบบ Paired t-Test และใช้การวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติกทวิ (Binary Logistic Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เมื่อแบ่งตามประเภทผู้ใช้ พบว่า นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ เข้าใช้บริการมากที่สุด จำนวน 271 คน (ร้อยละ 77.4) นักศึกษาคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล จำนวน 28 คน (ร้อยละ 8) บุคลากร จำนวน 21 คน (ร้อยละ 6) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสุขภาพ จำนวน 16 คน (ร้อยละ 4.6) อาจารย์ จำนวน 6 คน (ร้อยละ 1.7) นักศึกษาวิทยาลัยพัฒนาชุมชนเมือง จำนวน 5 คน (ร้อยละ 1.4) นักศึกษาวิทยาลัยพัฒนามหานคร จำนวน 3 คน (ร้อยละ 0.9) ตามลำดับ ส่วนใหญ่เข้าใช้บริการโดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง  และเข้าใช้บริการในช่วงเวลา 14.00-17.00 น.  จุดมุ่งหมายหลักในการเข้าใช้บริการเพื่อยืมหนังสือ  ทั้งนี้ ผู้ใช้บริการมีความคาดหวังโดยรวมอยู่ในระดับสูงทุกด้านและมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับสูงทุกด้าน เมื่อทดสอบการถดถอยโลจิสติกทวิสามารถพยากรณ์ได้ว่าเพศหญิงและผู้ใช้บริการที่เป็นนักศึกษามีโอกาสที่จะยอมรับสิ่งที่อยากให้มีเพิ่มเติมในห้องสมุด โดยมีความเห็นตรงกัน คือ ควรเพิ่มห้องประชุมเล็ก (self-study room) กระดานข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องสแกนหนังสือด้วยตนเองth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectคุณภาพการบริการth
dc.subjectห้องสมุดth
dc.subjectยุค 4.0th
dc.subjectคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์th
dc.subjectLibraryen
dc.subjectSERVQUALen
dc.subject4.0 Eraen
dc.subjectKuakarun Faculty of Nursingen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleService quality improvement in Kuakarun nursing library, Navamindradhiraj University in 4.0 Eraen
dc.titleการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการห้องสมุดคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ยุค 4.0th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61606304.pdf9.16 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.