Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3458
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPitchapa BOONNASAen
dc.contributorพิชชาภา บุญณสะth
dc.contributor.advisorAMARIN TAWATAen
dc.contributor.advisorอมรินทร์ เทวตาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2021-07-27T08:08:49Z-
dc.date.available2021-07-27T08:08:49Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3458-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis research aims to investigate 1. the level of workplace bullying, organizational citizenship behavior, and job performance of academic support employees at Silpakorn University 2. the influence of workplace bullying towards job performance 3. the influence of workplace bullying towards organizational citizenship behavior 4. the influence of organizational citizenship behavior towards job performance. The samples were 322 academic support employees at Silpakorn University. The research instrument was questionnaires. The data analysis was done by implementing frequency, percentage, mean, standard deviation, simple regression and stepwise multiple regression.  The result demonstrated that 1. the samples were mostly female, at the age range of 30 – 40 years old, single status, with a bachelor’s degree, being in permanent employee position, and 5-10 years of experience. 2. workplace bullying negatively influenced job performance and organizational citizenship behavior, and organizational citizenship behavior positively influenced job performance with statistical significance at level 0.01en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับการกลั่นแกล้งในที่ทำงาน ระดับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และระดับผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยศิลปากร 2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกลั่นแกล้งในที่ทำงานที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงาน 3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของการกลั่นแกล้งในที่ทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร 4. เพื่อศึกษาอิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานสายสนับสนุน ของมหาวิทยาลัยศิลปากร จำนวน 322 คน เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน  ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 30 - 40 ปี มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี เป็นพนักงานมหาวิทยาลัยประเภทพนักงานประจำ และมีอายุงานส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 5 -10 ปี 2. การกลั่นแกล้งในที่ทำงานมีอิทธิพลเชิงลบต่อผลการปฏิบัติงาน การกลั่นแกล้งในที่ทำงานมีอิทธิพลเชิงลบต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรมีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01   th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการกลั่นแกล้งในที่ทำงานth
dc.subjectพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรth
dc.subjectผลการปฏิบัติงานth
dc.subjectWorkplace Bullyingen
dc.subjectOrganizational Citizenship Behavioren
dc.subjectJob Performanceen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleThe Effect of Workplace Bullying towards Job Performance through Organizational Citizenship Behavioren
dc.titleผลกระทบของการกลั่นแกล้งในที่ทำงานต่อผลการปฏิบัติงาน ผ่านพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621220036.pdf3.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.