Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3532
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNutthapong TESTONGen
dc.contributorณัฐพงษ์ เทศทองth
dc.contributor.advisorWISUD PO NEGRNen
dc.contributor.advisorวิสูตร โพธิ์เงินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-02-01T04:46:06Z-
dc.date.available2022-02-01T04:46:06Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3532-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare students pretest and posttest study science by STEAM 2) to study promote the ability of innovation by STEAM 3) to study the attitude towards science by STEAM 4) to study the satisfaction towards science by STEAM. The sample group in this research was chosen by Simply Random Sampling technique which comprised 20 mathayomsuksa 1 Students of watrangkrang school who were studying in 1st semester of B.E.2563. The research tools were 1) The 3 lesson plans of science learning based on the steam education there are 5 step of learning 1.Identify a challenge 2.Explore ideas 3.Plan and Develop 4.Test and Evaluate 5.Present the Solution  2) An achievement test of science 40 questions 3) A scoring rubric on ability of innovation 4) A scoring likert’s scale form attitude towards science 5) A scoring likert’s scale form satisfaction science by STEAM. The mean and standard deviation are applied for data analysis. The research summary as follows, 1)  The effective of science learning Mathayomsuksa 1 by STEAM after study higher than before study at the 0.05 significant level. 2) The student’s ability of innovation after learning science by STEAM. Learning were positive at a good level on the criteria. 3) The student’s attitude towards science after learning science by STEAM Learning were positive at a good level on the criteria. 4) The student’s satisfaction after learning science by STEAM Learning were positive at a good level on the criteria.en
dc.description.abstractงานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM 2) ศึกษาความสามารถในการสร้างนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM 3) ประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนของนักเรียนโดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM  4) ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดรางกร่าง ตำบลศรีสำราญ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ที่กำลังเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ซึ่งผู้วิจัยได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simply Random Sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ    1) แผนการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAM จำนวน 3 แผน มีขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ 5 ขั้น    1.ขั้นระบุปัญหา 2.ขั้นค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง 3.ขั้นวางแผนและพัฒนา 4. ขั้นทดสอบประเมินผล 5. ขั้นนำเสนอผลลัพธ์ 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ จำนวน 40 ข้อ 3) แบบประเมินความสามารถในการสร้างนวัตกรรมแบบรูบริค 4) แบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์แบบลิเคิร์ท 5) แบบประเมินความพึงพอใจแบบลิเคิร์ท ผลการวิจัย 1) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAM หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 2) ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAM มีเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี 3) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAM มีเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับดี 4) ความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAM มีเกณฑ์ประเมินอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์, แนวคิด STEAM, ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม, เจตคติต่อวิทยาศาสตร์, ความพึงพอใจth
dc.subjectEffective of learning science/ STEAM Ecucation/ Ability of innovation/ Attitude towards science/ Satisfactionsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE EFFECTIVE OF SCIENCE LEARNING BASED ON THE STEAM EDUCATIONTO PROMOTE THE ABILITY OF INNOVATION AND ATTITUDE TOWARDS SCIENCEOF MATHAYOMSUKSA ONE STUDENTSen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEAMเพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างนวัตกรรมและเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60263309.pdf5.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.