Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3623
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suparat ROTCHAPORT | en |
dc.contributor | สุภารัตน์ รจพจน์ | th |
dc.contributor.advisor | Prabhassara Chuvichean | en |
dc.contributor.advisor | ประภัสสร์ ชูวิเชียร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Archaeology | en |
dc.date.accessioned | 2022-06-14T08:05:09Z | - |
dc.date.available | 2022-06-14T08:05:09Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3623 | - |
dc.description | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | “Nagatan” is an component of the roofs of traditional buildings. It is a carving with the shape of Naga or the upside down serpent inside the triangular structure. Its duty is to bear the load of eaves on a pillar or wall similarly to an armrest or crutch used in the central part of Thailand. It is also a decoration of temples. Its patterns can represent the craftsmanships in different periods. It can also indicate construction and renovation times. This research study focuses on the Lanna temples found in Lampang Province that were built by 26th Buddhist Era. It was found that the popularity and influences of the patterns of the old version of Nagatan were relevant to the influences of the Chinese arts, the Sukhothai arts and the original Lanna arts. After the Kingdom of Siam was found, the Chinese influences on the Lanna craftsmen were replaced by the Siamese influences since there were the patterns of both Rattanakosin arts and original Lanna arts. During the late 24th Buddhist Era – the mid 25th Buddhist Era, the Rattanakosin influences were very obvious. Consequently, the importance of the original influences and patterns of the Lanna arts was reduced. Then, the unique patterns were created in the late 25th Buddhist Era under the influences of the Chinese arts, Burmese arts, Rattanakosin arts and original Lanna arts. The patterns were mixed with the new styles of the local craftsmen without refering to the original concepts and customs. For example, Luang Len Fon or Luang Lhen Fah were the top animal with the seven unique characteristics and the ideal animal at the heaven. | en |
dc.description.abstract | “นาคทัณฑ์” เป็นส่วนประกอบทางโครงสร้างหลังคาในอาคารแบบประเพณี มีลักษณะเป็นไม้สลักรูปพญานาคหรือตัวลวงห้อยหัวลงมาภายในโครงสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งมีหน้าที่รองรับน้ำหนักของปลายชายคาลงมาสู่เสาหรือผนัง ทำหน้าที่คล้ายกับเท้าแขนหรือคันทวยในภาคกลาง อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งของศิลปกรรมประดับวิหาร โดยลวดลายที่ปรากฏสามารถเชื่อมโยงไปยังสกุลช่างต่างๆในแต่ละช่วงสมัย และยังรวมไปถึงสามารถแสดงช่วงเวลาของการสร้างและการบูรณะวิหารได้อีกด้วย ซึ่งการวิจัยครั้งนี้จะมุ่นเน้นไปยังกลุ่มวิหารล้านนาที่พบในจังหวัดลำปาง ที่มีอายุไม่เกินราวช่วงพ.ศ.2500 ทั้งหมด ผลการศึกษาพบว่าความนิยมและอิทธิพลด้านการประดับลวดลายที่ปรากฏในนาคทัณฑ์รุ่นเก่าสัมพันธ์กับอิทธิพลศิลปะจีน ศิลปะสุโขทัย และศิลปะล้านนาดั้งเดิม แต่พอเมื่อเข้าสู่ช่วงการปกครองจากสยามทำให้อิทธิพลศิลปะจีนในช่วงเวลานี้เป็นกลุ่มที่ช่างล้านนาได้รับแรงบันดาลใจมาจากสยามแทน มีการประดับลวดลายในศิลปะรัตนโกสินทร์ปะปนอยู่กับศิลปะล้านนาดั้งเดิม จนกระทั่งเข้าสู่ราวช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงกลางพุทธศตวรรษที่ 25 ที่อิทธิพลรัตน์โกสินทร์ได้รับความนิยมอย่างมาก จนทำให้อิทธิพลและแบบแผนการประดับลวดลายดั้งเดิมในศิลปะล้านนาจะถูกลดความสำคัญลง ก่อนกลับมาเป็นรูปแบบเฉพาะของตนเองในช่วงกลางถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 25 อันเป็นกลุ่มลวดลายที่สร้างขึ้นภายใต้แรงบันดาลใจจากศิลปะจีน ศิลปะพม่า ศิลปะรัตนโกสินทร์ และศิลปะล้านนาดั้งเดิม ผสมผสานกับแนวแบบใหม่จากกลุ่มช่างท้องถิ่น ที่ไม่อิงตามคติและแบบแผนนิยมดั้งเดิมอย่างลวงเล่นฝนหรือลวงเหล้นฝ้า สัตว์ชั้นสูงที่มีจุดเด่น 7 ลักษณะ และสัตว์ในอุดมคติดั้งเดิมที่แทนสวรรค์ เป็นต้น | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | นาคทัณฑ์ | th |
dc.subject | ศิลปะล้านนา | th |
dc.subject | จังหวัดลำปาง | th |
dc.subject | NAGA THAN | en |
dc.subject | LANNA ART | en |
dc.subject | LAMPANG PROVINCE | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Nagatan: the Decorative Patterns in Vihara in Lamphang between 19th - 20th Century | en |
dc.title | รูปแบบนาคทัณฑ์ประดับวิหารล้านนา จังหวัดลำปาง ช่วงพุทธศตวรรษที่ 24 - 25 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Archaeology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61107212.pdf | 14.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.