Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorโฉมสินทร์, วรณัฐ-
dc.date.accessioned2017-08-27T02:48:05Z-
dc.date.available2017-08-27T02:48:05Z-
dc.date.issued2558-10-06-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/362-
dc.description54405318 ; สาขาวิชาการจัดการงานวิศวกรรม -- วรณัฐ โฉมสินทร์en_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องนี้ศึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงการทำงานของเครื่องถักผ้า โดยนำเทคโนโลยีการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของเครื่องถักผ้าเข้ามาใช้เพื่อ ลดต้นทุนการผลิตและเพื่อความสามารถในการแข่งขัน ในการคัดเลือกเทคโนโลยีในการคัดเลือกและเปรียบเทียบเทคโนโลยีที่จะนำมาใช้ โดยการนำกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (AHP) เป็นเครื่องมือในการคัดเลือกเทคโนโลยีในการผลิต เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ในที่นี้ได้กำหนดทางเลือกไว้ 3 ทาง คือ 1. พนักงานคุมเครื่องถักผ้า 2. พนักงานคุมเครื่องร่วมกับใช้ระบบ DATALOG ตรวจสอบการทำงานของเครื่องทอ 3.ใช้ระบบ PROGA ซึ่งเป็นระบบควบคุมและตรวจสอบการทำงานเครื่องถักผ้า และปัจจัยที่นำมาคัดเลือก 4 ปัจจัย คือ 1.อัตราการเดินเครื่องถักผ้า 2.ประสิทธิภาพการเดินเครื่องถัก 3.คุณภาพของผ้าถัก 4.ค่าใช้จ่าย มาหาทางเลือกที่ดีที่สุด มาเลือกเทคโนโลยีที่ใช้เพิ่มประสิทธิภาพกับเครื่องถักผ้า พบว่าเมื่อนำระบบ DATALOG มาประยุกต์ใช้ร่วมกับพนักงานพบว่าหลังจากการปรับปรุงสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเครื่องถักผ้าขึ้น 4.31% ลดจำนวนพนักงานในสายการผลิตลง 20% และลดจำนวนพนักงานตรวจสอบลง 25% ลดระยะเวลาในการรอคอยระหว่างการผลิตลง 46.59 และและเพิ่มผลผลิตผ้าถักเพิ่มขึ้น 13.82% อีกด้วย The aim of this research is to study and improve the knitting process in the sample textile industry. A technology for controlling and monitoring the knitting process was selected. In the selection process of the technology used, the choices were compared by Analytic Hierarchy Process (AHP) as a screening tool for the maximum performance. There were 3 choices: 1) workforce control on the knitting machines, 2) workforce control together with DATALOG system for monitoring the knitting machine, 3) Use PROGA system for controlling and monitoring the knitting machine. The criteria for the selection were: 1) Availability of the knitting machine, 2) efficiency on the knitting machine 3) Quality of the cloth 4) the operating cost. It was found that workforce control together with DATALOG system was chosen. The efficiency of the knitting machines increase for 4.31%, the workforce decrease for 20%, inspection officer decrease for 25%, waiting time between stations decrease for 46.59%, and finally increase the fabric knitting for 13.82%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์en_US
dc.subjectการปรับปรุงระบบควบคุมและตรวจสอบen_US
dc.subjectผ้าถักen_US
dc.subjectAHPen_US
dc.subjectIMPROVE CONTROLLING & MONITORING SYSTEMen_US
dc.subjectKNITTINGen_US
dc.titleการนำคอมพิวเตอร์ไปควบคุมและตรวจสอบเครื่องถักผ้า กรณีศึกษา: โรงงานตัวอย่างen_US
dc.title.alternativeCOMPUTER CONTROL AND MONITORING ON KNITTING MANUFACTURING OF SAMPLE FACTORYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วรณัฐ.pdf6.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.