Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3811
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSrirat EKPATCHAen
dc.contributorศรีรัตน์ เอกปัชชาth
dc.contributor.advisorChaiyos Paiwithayasirithamen
dc.contributor.advisorไชยยศ ไพวิทยศิริธรรมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T07:59:58Z-
dc.date.available2022-07-18T07:59:58Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3811-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to:  1) compare the learning achievement on Thai language levels and royal words of Matthayomsueksa 4 students before and after using flipped classroom learning management. 2) study the students’ opinions towards the flipped classroom learning management. The sample of this research was 44 Mathayomsueksa 4/1 students of Bangliwitthaya School, Song Phinong District, Suphanburi in the second semester of the academic year 2021. The research instruments were lesson plans, an achievement test and a questionnaire on the students’ opinions towards the flipped classroom learning management. The data were analyzed by mean, standard deviation and dependent sample t-test. The results of the study were as follows: 1. The students’ learning achievement on Thai language levels and royal words after using the flipped classroom learning management was significantly higher than before using the flipped classroom learning management at .05 level. 2. The students’ overall opinions towards the flipped classroom learning management were at a high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง ระดับภาษาและคำราชาศัพท์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน  2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4  ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนบางลี่วิทยา อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน 44 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่มด้วยวิธีจับสลาก เป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังเรียน (The One-Group Pretest-Posttest Design) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ระดับภาษาและคำราชาศัพท์ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (M) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระดับภาษาและคำราชาศัพท์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectระดับภาษาth
dc.subjectคำราชาศัพท์th
dc.subjectห้องเรียนกลับด้านth
dc.subjectThai language levelsen
dc.subjectRoyal wordsen
dc.subjectFlipped Classroomen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Development of Learning Achievement on Thai Language LevelsAnd Royal Words of Matthayomsueksa 4 Students UsingFlipped Classroom Learning Managementen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ระดับภาษาและคำราชาศัพท์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โดยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้านth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255314.pdf5.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.