Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3817
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorParitta CHANSAMORNen
dc.contributorปริตตา ชาญสมรth
dc.contributor.advisorBusaba Buasomboonen
dc.contributor.advisorบุษบา บัวสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T07:59:59Z-
dc.date.available2022-07-18T07:59:59Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3817-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe study had two objectives. The first, the study compare the students’ scores on a Khmer loan words test before and after studying the computer- assisted instruction with inductive method. Secondly, the study measured the students’ opinions about the computer-assisted instruction with inductive method on Khmer loan words in Thai language. A simple sampling method was used to select the test group of 38 Matthayomsueksa 3 students and took during the first semester of the 2021 academic year at Thammachotesuksalai school, The students made use of the computer-assisted instruction with inductive method . The study tools were 1) computer-assisted instruction on Khmer loan words in Thai language, 2) lesson plans 3) a pretest and posttest, and 4) a questionnaire about the students’ opinions on the computer-assisted instruction with inductive method on Khmer loan words in Thai language. The statistical tools used for data analysis were mean score, standard deviation (S.D.), and t-test. The results of this research were as follow: 1) The students’ scores improved after studying the computer-assisted instruction with inductive method on Khmer loan words in Thai language. It was statistically significant at .01. 2) The students preferred the computer-assisted instruction (m.=4.28 , S.D. =0.41).en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มี 2 วัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบอุปนัย และ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบอุปนัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธรรมโชติศึกษาลัย จำนวน 38 คน ที่ได้จากการสุ่มอย่างง่าย ใช้เวลาในการทดลอง 8 คาบเรียน ไม่รวมทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบอุปนัย เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ 1. คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบอุปนัยสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนมีความคิดเห็นต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธการสอนแบบอุปนัย เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยของอยู่ในระดับมาก (m.=4.28 , S.D. =0.41)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนth
dc.subjectวิธีการสอนแบบอุปนัยth
dc.subjectคำยืมภาษาเขมรในภาษาไทยth
dc.subjectCOMPUTER-ASSISTED INSTRUCTIONen
dc.subjectINDUCTIVE METHODen
dc.subjectKHMER LOAN WORDS IN THAI LANGUAGEen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF COMPUTER-ASSISTED INSTRUCTION WITH INDUCTIVE METHOD ON KHMER LOAN WORDS IN THE THAI LANGUAGE FOR MATTHAYOMSUEKSA 3 STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบอุปนัย เรื่อง คำยืมภาษาเขมรในภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255405.pdf6.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.