Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirinrat NOICHROENen
dc.contributorสิรินรัตน์ น้อยเจริญth
dc.contributor.advisorCHOLTICHA HOMFUNGen
dc.contributor.advisorชลธิชา หอมฟุ้งth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:00Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:00Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3820-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstract  The purposes of this research were 1) to compare reading comprehension achievement of Matthayomsuksa 2 students before and after using the Cooperative learning management with 5W1H technique. 2) to study the students' opinions towards the Cooperative learning management with 5W1H technique. The sample of this research was twenty-five Matthayomsuksa 2 students who were studying second semester of the academic year 2020 at Radbumrungtham school, Laokwan District, Kanchanaburi Province. The research instruments were lesson plans, an achievement test and a questionnaire on the students' opinions towards the Cooperative learning management with 5W1H technique. The data were analyzed by mean, standard deviation and t-test for dependent samples. The findings were as follows; 1. The reading comprehension achievement of Matthayomsuksa 2 students after using Cooperative learning management with 5W1H technique was significantly higher than before using Cooperative learning management with 5W1H technique at 0.5 level 2. The students’ overall opinions towards the Cooperative learning management with 5W1H technique were at a high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค การตั้งคำถาม 5W1H 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้ง คือ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราษฎร์บำรุงธรรม อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี ที่กำลังศึกษา ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 25 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ด้วยการจับสลาก โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความ และ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิค การตั้งคำถาม 5W1H การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t - test for dependent samples) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H อยู่ในระดับเห็นด้วยมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1Hth
dc.subjectREADING COMPREHENSION ACHIEVEMENTen
dc.subjectCOOPERATIVE LEARNING MANAGEMENT WITH 5W1H TECHNIQUEen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF READING COMPREHENSION ACHIEVEMENT OF MATTHAYOMSUKSA 2 STUDENTS USING COOPERATIVE LEARNING MANAGEMENT WITH 5W1H TECHNIQUEen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านจับใจความ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1Hth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60255410.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.