Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhinthakan NIMMANUTen
dc.contributorพิณทกานต์ นิมมานุทย์th
dc.contributor.advisorPhenphanor Phuangphaeen
dc.contributor.advisorเพ็ญพนอ พ่วงแพth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:03Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:03Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3831-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThis research aims to 1) Examine basic information about development of the “Our Land” course, using community-based learning management for first-year junior high school students, 2) Develop the “Our Land” course using community-based learning management for first-year junior high school students, 3) Evaluate the “Our Land” course after using community-based learning management for first-year junior high school students, 4) Improve the “Our Land” course using community-based learning management for first-year junior high school students. The sample group consisted of 13 first-year junior high school students of 1st semester of Academic Year 2021 from Matee Chunhawan Vitayalai School, Bangkontee District, Samut Songkram Province. The tools used in this study consisted of the “Our Land” course after using community-based learning management for first-year junior high school students, survey on the needs related with the “Our Land” course after using community-based learning management for first-year junior high school students, focus group, project assessment form, and survey form for comment on the course. Analysis was done using percentage, average, standard deviation, content analysis and t-test. Result of this research revealed that 1) Students and relevant parties saw the importance and the need for course development by encouraging the students to learn and practice in local learning sources, 2) The course, consisting of principle, objective, learning management guideline, assessment guideline, course description, learning achievement, course structure and learning management plan. 3) The pre-test and post-test learning achievement of the students are statistical significance .05 after using our local curriculum management approach for secondary 1 and can do the project was high after used in the content includes learning activities and students have high. The opinions of students on using the course have highest. The materials are appropriate measurement and evaluation to be used in teaching and learning.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) พัฒนาหลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเรา ด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) ผลการใช้หลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  และ 4) ปรับปรุงหลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเมธีชุณหะวัณวิทยาลัย อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยหลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการใช้หลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน การสนทนากลุ่ม แบบประเมินความสามารถในการทำโครงงาน แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญ และต้องการให้พัฒนาหลักสูตรโดยส่งเสริมให้นักเรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น 2) หลักสูตรประกอบด้วยหลักการ จุดมุ่งหมาย แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทางการวัดประเมินผล คำอธิบายรายวิชา ผลการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา และแผนการจัดการเรียนรู้ 3) นักเรียนมีผลการเรียนรู้หลังการใช้หลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05, ความสามารถในการทำโครงงานหลังการใช้หลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับสูง และความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้หลักสูตร อยู่ในระดับมากที่สุด 4) หลักสูตรมีความเหมาะสมที่จะนำใช้ในการจัดการเรียนการสอนth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนาหลักสูตร รายวิชาท้องถิ่นของเรา การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานth
dc.subjectCourse Development Our Local Area Course Community-based learning managementen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Development of Local Curriculumusing by Community-Based Learning for Secondary Educationen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาท้องถิ่นของเราด้วยวิธีการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60262306.pdf8.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.