Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuppasak ONSANen
dc.contributorศุภศักดิ์ อ่อนสันต์th
dc.contributor.advisorNIWAT BOONSOMen
dc.contributor.advisorนิวัฒน์ บุญสมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:05Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:05Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3844-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objective to this research were to :  1) development to model of guidance activity using case based learning and learning together technique to enhance creative problem solving for secondary 2. 2) evaluate the effectives of using model of guidance activity using case based learning and learning together technique to enhance creative problem solving for secondary 2. The samples comprised experimental group of 44 secondary 2 students at Rajvinit Mattayom school,during the first semester of academic year 2020. The research instruments were consisted of model of guidance activity, a handbook, units and lesson plans, creative problem solving abilities evaluation forms, the record guidance activities (Journal Writing), and the satisfaction assessment form for model of guidance activity. The data were analyzed by percentage (%) mean (X ̅), and standard deviation (S.D.) The results were as follows: 1. The model of guidance activity using case based learning and learning together technique to enhance creative problem solving for secondary 2 called “4P model” consisted of factor which were : 1) principle 2) objectives 3) activity process 4 steps : (1) Preparing (2) Presenting and studying case (3) Participation to discuss (4)Peroration and Assessment  4) The conditions of the activity consisted of (1) an atmosphere for students to have the courage to problems (2) small group learning. 5) Measurement and evaluation. 2. Effectiveness of the model of guidance activity using case based learning and learning together technique to enhance creative problem solving for secondary 2.The results were as follows.           2.1 The creative problem solving of secondary 2 students during the formulation of guidance activities has been developed.           2.2 Students’ satisfaction towards using the model of guidance activity. The overall of the students’ satisfaction were at highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนราชวินิต มัธยม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 44 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 คู่มือการใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนว แผนการจัดกิจกรรมแนะแนว แบบประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ แบบสรุปองค์ความรู้กิจกรรมแนะแนว (Journal Writing) และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (X ̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัย พบว่า 1. รูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีชื่อว่า 4P Model มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 เตรียมผู้เรียน (Preparing) ขั้นที่ 2 นำเสนอและศึกษากรณีศึกษา (Presenting and Studying case) ขั้นที่ 3 อภิปรายกรณีศึกษา (Participation to discuss) และ ขั้นที่ 4 สรุปและประเมิน (Peroration and Assessment) และ  4) เงื่อนไขการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย (1) การสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนมีความกล้าในการเผชิญปัญหา (2) การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มย่อย และ 5) การวัดและประเมินผล 2. ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสรุป ดังนี้           2.1 ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างการจัดกิจกรรมแนะแนวตามรูปแบบมีพัฒนาการขึ้น           2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้รูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวth
dc.subjectกรณีศึกษาเป็นฐานth
dc.subjectเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันth
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.subjectTHE MODEL OF GUIDANCE ACTIVITYen
dc.subjectCASED BASED LEARNINGen
dc.subjectLEARNING TOGETHERen
dc.subjectCREATIVE PROBLEM SOLVINGen
dc.subjectSECONDARY 2en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Development Model of Guidance Activity using Case Based Learning and Learning Together Technique to Enhance Creative Problem Solving for Secondary 2en
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้กรณีศึกษาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60263328.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.