Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/384
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยนุสรณ์, ภฤศญา-
dc.contributor.authorPiyanusorn, Phrutsaya-
dc.date.accessioned2017-08-27T02:54:23Z-
dc.date.available2017-08-27T02:54:23Z-
dc.date.issued2559-07-15-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/384-
dc.description54604906 ; สาขาวิชาการจัดการ -- ภฤศญา ปิยนุสรณ์en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ 1) เพื่อศึกษาบริบทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2) เพื่อศึกษาศักยภาพภายในและภายนอกของระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 3) เพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาบริบทการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใช้การวิเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ นายด่านศุลกากร หัวหน้าด่านศุลกากรสะเดา หอการค้าจังหวัดสงขลา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้ประกอบการด้าน โลจิสติกส์ และนักวิชาการด้านโลจิสติกส์ จำนวน 30 คน ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาศักยภาพของระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยการศึกษาเครื่องดัชนีชี้วัดศักยภาพทางโลจิสติกส์ (Logistics Performance Index :LPI) และการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลกลุ่มเดียวกับขั้นตอนที่ 1 และ ขั้นตอนที่ 3 สร้างกลยุทธ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จากการสนทนากลุ่มเพื่อสร้างกลยุทธ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย – มาเลเซียเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประกอบไปด้วยนโยบาย 7 ด้าน ได้แก่ 1) การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน โลจิสติกส์ไทย-มาเลเซียด้านการขนส่งทางบก 2) การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านโลจิสติกส์ไทย-มาเลเซียด้านการขนส่งทางราง 3) การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านโลจิสติกส์ 4) การพัฒนาและจัดการกำลังคนด้านโลจิสติกส์ 5) การส่งเสริมการค้าและการบริการด้านโลจิสติกส์ 6) การพัฒนากระบวนการศุลกากร 7) การสร้างความร่วมมือระหว่างภาคเอกชน จากนโยบาย 7 ด้านนำมาซึ่งกลยุทธ์ 32 กลยุทธ์ ประโยชน์จากงานวิจัยนี้ก่อให้เกิดในการนำไปใช้เชิงนโยบาย ทั้งภาครัฐและเอกชนและสามารถนำไปสู่การปฏิบัติ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจที่เกี่ยวข้องและรัฐบาล ในระดับระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และ ระดับประเทศ โดยเฉพาะระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย มาเลเซีย เป็นการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่างประเทศและรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในการศึกษาครั้งนี้ได้มีการนำแนวคิดการประเมินโลจิสติกส์ของธนาคารโลก (LPI) มาปรับปรุงและบูรณาการกับการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทระบบโลจิสติกส์ไทย มาเลเซีย อันจะเป็นประโยชน์ในด้านวิชาการต่อไปมากยิ่งขึ้น This research has three objectives: 1) to study the context of the development of logistics Thailand - Malaysia supports the AEC 2) to study the potential of logistics Thailand - Malaysia to support AEC 3) to establish a strategy to develop logistics Thailand - Malaysia for the ASEAN economic community. Research conducted at three stages. The first of the development context logistics Thailand - Malaysia supports the AEC by analysis of documents and interviewing. Informants including customs officers. Customs chief Sadao Songkhla Chamber of Commerce FTI Operators logistics and academics logistics. Step 2 the potential logistics Thailand - Malaysia for the ASEAN Economic Community is study by. using indicators of potential logistics (Logistics Performance Index: LPI), and in-depth interviews to the same group. contributors as the first step. Finally, create a strategy to develop logistics Thailand - Malaysia for the ASEAN Economic Community's strategy to create a discussion group. The results showed that Strategies developed logistics Thailand - Malaysia for the ASEAN Economic Community. Consists of seven policy areas. 1) Improving infrastructure logistics - Thailand, Malaysia, the land transport 2) improvement of infrastructure, logistics - Thailand, Malaysia, the rail 3) the development of information technology and logistics. 4) the development and management of manpower logistics 5) to promote trade and logistics services 6) development of customs 7) the collaboration between the private sector of policy. 7 policy lead to the 32 strategies. The benefits of this research contributes to the implementation of policy in both public and private sectors for development of competitiveness in the state of the local, regional and national levels especially in the connection of logistics system between Thailand and Malaysia for support the ASEAN Economic Community’s Strategy. The world bank’s LPI is integrated with qualitative analysis to conform to the logistics system context of Thailand and Malaysia for gathering more informative academic research.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectระบบโลจิสติกส์en_US
dc.subjectประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนen_US
dc.subjectดัชนีชี้วัดศักยภาพโลจิสติกส์en_US
dc.subjectLOGISTICSen_US
dc.subjectASEAN ECONOMIC COMMUNUTYen_US
dc.subjectLOGISTICS PERFORMANCE INDEXen_US
dc.titleกลยุทธ์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ประเทศไทย - มาเลเซีย เพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนen_US
dc.title.alternative: LOGISTICS DEVELOPMENT SYTATEGY BETWEEN THAILAND AND MALAYSIA TO ASEAN ECONOMICS COMMUNITYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ภฤศญา.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.