Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChintara KHAMPHAPHAKen
dc.contributorจินตหรา คำภาพักตร์th
dc.contributor.advisorWISUD PO NEGRNen
dc.contributor.advisorวิสูตร โพธิ์เงินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-07-18T08:00:08Z-
dc.date.available2022-07-18T08:00:08Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3860-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstract               The research purpose were 1) to compare biological science learning achievement before and after learning management by using STEAM  with  Project-Based Learning of organisms in the environment, 2) to study the scientific method after learning  using STEAM Education with the Project-Based Learning of mattayom 4 students, 3) to study the innovation creativity after learning  using STEAM Education  with the Project-Based Learning of mattayom 4 students and 4) to study student satisfaction to learning management by using STEAM Education  with the Project-Based Learning of mattayom 4  students. The sample was 12 of 4/2 students from Nongwanpriengwittaya school, the 1st semester, the academic year 2020, from Simple Random Sampling. The instruments were 1) biological science lesson plan, organisms in the environment, 2) the placement test of biological science, organisms in the environment, 3) the science learning procedure skill test, 4) innovation creativity test, 5) student satisfaction survey to learning management by using STEM education together with the Project-Based Learning. The statistics used were mean (), standard deviation (S.D.), percentage, t-test dependent, The results indicated as follows: 1) The comparative result of biological science learning achievement was higher than before using STEAM learning management together with the Project-Based Learning about organisms in the environment at the significant level of .05. 2) The scientific process skill result of mattayom 4  students by using STEAM Education together with the Project-Based Learning was good level. 3) The innovative creativity results of mattayom 4 students after using STEM Education leaning management together with the Project-Based Learning were good level. 4) The Student Satisfaction Survey result to using STEM Education leaning management together with the Project-Based Learning was the most levelen
dc.description.abstract               การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่อง สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน 2) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน 3) เพื่อศึกษาการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน และ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนหนองวัลย์เปรียงวิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 12 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มชีวภาพ เรื่อง สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่อง สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม 3) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4) แบบประเมินการสร้างสรรค์นวัตกรรม 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าคะแนนเฉลี่ย () ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent                ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรื่องสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อมก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน อยู่ในระดับดี 3) ผลการศึกษาการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้สะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐาน อยู่ในระดับดี 4) ผลการศึกษาศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้สะตีมศึกษา (STEAM Education) ร่วมกับโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี 4 ที่ อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสะตีมศึกษาth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงานเป็นฐานth
dc.subjectทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์th
dc.subjectการสร้างสรรค์นวัตกรรมth
dc.subjectSTEAM Educationen
dc.subjectProject Based Learningen
dc.subjectScience Processen
dc.subjectCreative Innovationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSCIENCE LEARNING BY USING STEAM WITH PROJECT BASED LEARNING SUPPORTING SCIENCE PROCESS AND CREATIVE INNOCVATION OF MATTAYOM 4 STUDENTSen
dc.titleการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้แนวคิดสะตีมศึกษาร่วมกับโครงงานเป็นฐานที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการสร้างสรรค์นวัดกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61263318.pdf8.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.