Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3924
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suwalak SUNTHARAPOT | en |
dc.contributor | สุวลักษณ์ สุนทรพจน์ | th |
dc.contributor.advisor | Namfon Sribundit | en |
dc.contributor.advisor | น้ำฝน ศรีบัณฑิต | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Pharmacy | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-19T03:27:19Z | - |
dc.date.available | 2022-07-19T03:27:19Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3924 | - |
dc.description | Master of Pharmacy (M.Pharm) | en |
dc.description | เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research aimed to study the effectiveness of text messaging via application LINE on adherence to antiretroviral drug, viral suppression, and CD4 count among HIV and AIDS patients. Thirty-six HIV and AIDS patients who received services and antiretroviral drug at antiretroviral drug clinic Khaoyoi hospital. were randomized to intervention (n=18) or control group (n=18). Patients in the intervention group received weekly text messages via the application LINE for 24 weeks and patients can interact and seek advice from a pharmacist. The content of text message will be a reminder to take antiretroviral drug, the importance of adherence, motivation, social support monitoring symptoms, questioning the condition of the illness, trouble taking medication drug side effects, and appointment reminders. Patients in the control group received standard care from antiretroviral drug clinic. After 24 weeks follow up, the mean adherence was significantly higher in the intervention group (98.07 ± 2.49 percent) as compared to the control group (85.84 ± 15.41 percent) (P<0.001). CD4 count was significantly higher in the intervention group (420.00 ± 153.55 cell/mm3) compared to the control group (292.78 ± 168.93 cell/mm3) (P=0.024). There were no significant difference in viral suppression between the intervention and control group. Satisfaction with the text messages via the application LINE was reported by the patients that they had a highest level of satisfaction. Thus, text messaging via application LINE are effective in improving adherence to antiretroviral drug and CD4 count among HIV and AIDS patients. These findings may be of potential benefit for development of HIV and AIDS services. | en |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ต่อความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ การกดปริมาณไวรัส และ ระดับ CD4 ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการและได้รับยาต้านไวรัสเอดส์ที่คลินิกยาต้านไวรัสเอดส์โรงพยาบาลเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 36 คน ได้รับการสุ่มให้อยู่ในกลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม 18 คน กลุ่มทดลองจะได้รับการส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา 24 สัปดาห์ โดยผู้ป่วยสามารถโต้ตอบและขอคำปรึกษาจากเภสัชกรได้ เนื้อหาของข้อความจะเป็นการแจ้งเตือนการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์ ความสำคัญของความร่วมมือ การเสริมสร้างแรงจูงใจ การสนับสนุนทางสังคม การติดตามอาการของผู้ป่วย การซักถามสภาวะความเจ็บป่วย ปัญหาในการใช้ยา อาการข้างเคียงจากยา และการแจ้งเตือนนัดหมาย ส่วนกลุ่มควบคุมจะได้รับการดูแลตามปกติ ผลการศึกษาพบว่า หลังจากส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์เป็นระยะเวลา 24 สัปดาห์ ทำให้ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) โดยกลุ่มทดลองมีความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเฉลี่ย ร้อยละ 98.07 ± 2.49 กลุ่มควบคุมมีความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเฉลี่ย ร้อยละ 85.84 ± 15.41 ระดับ CD4 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.024) โดยกลุ่มทดลองมีระดับ CD4 เฉลี่ย 420.00 ± 153.55 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร กลุ่มควบคุมมีระดับ CD4 เฉลี่ย 292.78 ± 168.93 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร ส่วนผลการกดปริมาณไวรัสไม่มีความแตกต่างกัน และผลความพึงพอใจในการส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่ให้คะแนนอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ดังนั้นการส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์สามารถช่วยเพิ่มความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์และระดับ CD4 ได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาระบบบริการผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ | th |
dc.subject | ความร่วมมือในการใช้ยา | th |
dc.subject | ยาต้านไวรัสเอดส์ | th |
dc.subject | ผู้ติดเชื้อเอชไอวี | th |
dc.subject | ผู้ป่วยเอดส์ | th |
dc.subject | Text messaging via application LINE | en |
dc.subject | Adherence | en |
dc.subject | Antiretroviral drug | en |
dc.subject | HIV | en |
dc.subject | AIDS | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | Effectiveness of text messaging via application LINE on adherence to antiretroviral drug among HIV and AIDS patients in Khaoyoi Hospital Phetchaburi | en |
dc.title | ประสิทธิผลของการส่งข้อความผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ต่อความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Pharmacy |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60352306.pdf | 3.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.