Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBenjawan THEPTHANIen
dc.contributorเบญจวรรณ เทพธานีth
dc.contributor.advisorNiwat Boonsomen
dc.contributor.advisorนิวัฒน์ บุญสมth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2022-12-13T04:30:52Z-
dc.date.available2022-12-13T04:30:52Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4108-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to develop and test the efficiency of inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials for the fifth grade students with the 80/80 efficiency criterion, and 2) to compare science achievement scores focusing on living things and the environment topic between before and after using inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials for fifth grade students, 3) to study the fifth grade students’ satisfactions toward the inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials. The samples of this research were the 28 fifth grade students at Tessaban 1 Taladbangli School in the academic year 2020. The research instruments consisted of 1) inquire-based learning (7E) lesson plans with local information multimedia materials focusing on living things and environment topics for the fifth grade students, 2) a science achievement test focusing on living things and environment topics, 3) students’ satisfaction questionnaire toward the inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials for the fifth grade students. The results were found as follows. 1) The efficiency of inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials for the fifth grade students was 81.02/ 81.04 which was higher that the  80/80 efficiency criterion. 2) Science achievement score focusing on living things and environment topic after using inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials for the fifth grade students was significantly higher than before using the experimental treatments at the .05 level of significance. 3) Students’ satisfaction questionnaire toward the inquiry-based learning (7E) with local information multimedia materials overall was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80  2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น ก่อนและหลังเรียน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล ๑  ตลาดบางลี่ (พานิชอุทิศ) ในปีการศึกษา 2563 จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการหาประสิทธิภาพแบบภาคสนามของแผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 พบว่า มีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 81.02/ 81.04 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้แบบ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05  3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่นth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E)th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์th
dc.subjectLocal information multimedia materialsen
dc.subjectInquiry-based learning (7E)en
dc.subjectScience Achievementen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF SCIENCE ACHIEVEMENT FOCUSING ON LIVING THINGS AND THE ENVIRONMENT TOPIC TAUGHT BY INQUIRY-BASED LEARNING (7E) WITH LOCAL INFORMATION MULTIMEDIA MATERIALS FOR THE FIFTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (7E) ร่วมกับสื่อประสมโดยใช้ข้อมูลท้องถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60263316.pdf10.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.