Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4153
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pitchaya PRAWETPRI | en |
dc.contributor | พิชญา ประเวชไพร | th |
dc.contributor.advisor | Eakaphun Bangyeekhun | en |
dc.contributor.advisor | เอกพันธ์ บางยี่ขัน | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Science | en |
dc.date.accessioned | 2022-12-13T04:32:20Z | - |
dc.date.available | 2022-12-13T04:32:20Z | - |
dc.date.issued | 25/11/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4153 | - |
dc.description | Master of Science (M.Sc.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม) | th |
dc.description.abstract | Polysaccharide was extracted from the fruiting body, mycelium, mycelium from spent mushroom substrate of split gills mushroom, schizophyllum commune, and rubber wood sawdust by hot water and precipitated by methanal and yielded 0.21±0.11%-1.30±0.06%. The composition of polysaccharide was analyzed and revealed 0.635± 0.146-0.790± 0.033 mg of total carbohydrate/mg extract, 0.415±0.030-0.508±0.059 mg of reducing sugar/mg extract, 0.181± 0.003-0.249± 0.014 mg of glucosamine/mg extract, 0.001±0.001-0.006±0.000 mg of total phenolic content /mg extract and 0.017±0.007-0.051±0.014 mg of protein/mg extract. Effect of polysaccharides on growth of probiotic bacteria L. plantarum MD-5, L. plantarum MD-11 และ L. acidophilus TISTR2365 was studied and indicated the polysaccharide extracted from mycelium and mycelium from spent mushroom substrate can stimulate the growth of L. acidophilus. Culture filtrate from probiotic bacteria grown in a medium containing polysaccharide could not inhibit growth of pathogenic bacteria. Only L. acidophilus grown in a medium containing polysaccharides extracts from mycelium could tolerate the tested gastrointestinal conditions. The polysaccharides also exhibited antioxidant activity. There were 20-40% and 2-7% of percentage inhibition of Trolox according to DPPH and ABTS assay, respectively. The polysaccharides were not toxic to RAW 264.7 macrophage cell line and Artemia salina. | en |
dc.description.abstract | เมื่อทำการสกัดโพลีแซ็กคาไรด์จากดอกเห็ด เส้นใยเห็ด เส้นใยในถุงเห็ดแครง และขี้เลื่อยถุงเห็ด ด้วยน้ำร้อนและตกตะกอนด้วยเมทานอลได้โพลีแซ็กคาไรด์ร้อยละ 0.21±0.11-1.30±0.06 เมื่อนำสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ไปศึกษาองค์ประกอบพบว่า มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตทั้งหมดระหว่าง 0.635± 0.146-0.790± 0.033 มิลลิกรัมต่อมิลกรัมของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ มีน้ำตาลรีดิซว์ระหว่าง 0.415±0.030-0.508±0.059 มิลลิกรัมต่อมิลกรัมของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ มีปริมาณกลูโคซามีนระหว่าง 0.181± 0.003-0.249± 0.014 มิลลิกรัมต่อมิลกรัมของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ มีปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดระหว่าง 0.001±0.001-0.006±0.000 มิลลิกรัมต่อมิลกรัมของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ และมีปริมาณโปรตีนทั้งหมดระหว่าง 0.017±0.007-0.051±0.014 มิลลิกรัมต่อมิลกรัมของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ เมื่อศึกษาผลของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ต่อการเจริญของโพรไบโอติก L. plantarum MD-5, L. plantarum MD-11 และ L. acidophilus TISTR2365 พบว่า สารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์จากเส้นใยเห็ดและเส้นใยในถุงเห็ดสามารถส่งเสริมการเจริญของ L. acidophilus ได้ เมื่อนำอาหารที่ผ่านการเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ร่วมกับสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์มาทดสอบการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคพบว่า สารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ไม่สามารถส่งเสริมความสามารถของโพรไบโอติกในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคได้ เมื่อทดสอบความทนทานของโพรไบโอติกที่เลี้ยงในอาหารที่มีสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ต่อสภาวะระบบทางเดินอาหารจำลอง พบว่า L. acidophilus ที่เลี้ยงในอาหารที่มีสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์จากเส้นใยเห็ดสามารถทนต่อสภาวะระบบทางเดินอาหารจำลองได้ จากการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระพบว่า สารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์มีฤทธิ์การยับยั้งอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ ABTS คิดเป็นร้อยละ 20-40 และ 2-7 ของ Trolox ตามลำดับ เมื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์พบว่า สารสกัดโพลีแซ็กคาไรด์ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ RAW 264.7 macrophage และ ไรทะเล | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | เห็ดแครง | th |
dc.subject | พรีไบโอติก | th |
dc.subject | โพลีแซ็กคาไรด์ | th |
dc.subject | สารต้านอนุมูลอิสระ | th |
dc.subject | schizophyllum commune | en |
dc.subject | prebiotic | en |
dc.subject | polysaccharide | en |
dc.subject | Antioxidant activity | en |
dc.subject.classification | Immunology and Microbiology | en |
dc.title | Prebiotic properties of polysaccharides from Schizophyllum commune | en |
dc.title | คุณสมบัติความเป็นพรีไบโอติกของโพลีแซ็กคาไรด์จากเห็ดแครง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620720044.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.