Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4194
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Parames BOONROUNGKAW | en |
dc.contributor | ปารเมศ บุญเรืองขาว | th |
dc.contributor.advisor | Nalin Petchin | en |
dc.contributor.advisor | นลิน เพ็ชรอินทร์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Music | en |
dc.date.accessioned | 2023-02-09T02:36:10Z | - |
dc.date.available | 2023-02-09T02:36:10Z | - |
dc.date.issued | 25/11/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4194 | - |
dc.description | Master of Music (M.Mus) | en |
dc.description | ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this thesis are 1) To study the problems and obstacles of communication of Thai pop music bands in Bangkok 2) To study the awareness of Thai pop music bands from communication in Bangkok 3) To compose the communication guidelines for Thai pop music bands by using the new media. The case study is Thai pop music bands in Bangkok by utilizing the mix method research which combines the qualitative method with quantitative method. The researcher employed the in-depth interview to accumulate the qualitative data by interviewing four successful Thai pop music bands with the method of purposive sampling. The researcher made use of survey research method to gather the qualitative data by distributing the questionnaire to the group of randomized Thai pop music listeners in Bangkok in total of 400 based on the Taro Yamane Sample Size Table (Yamane, 1973). The researcher has also used the frequencies distribution, percentage, mean, and standard deviation to analyze the collected data, and tested the assumption by utilizing the one-way ANOVA and factor analysis strategy. The result of this thesis can be applied to create the communication strategy for pop music bands by using the new media. The strategy of the case study with Thai pop music bands in Bangkok is the “COM” strategy consisting of C (Content), O (Opportunity), and M (Music). C (Content) is the content that each band creates must match with the interest of the target audience. It will help the communication to be more effective. O (Opportunity) means the search of new chance to maintain the relationship with the previous fan base and create the new potential fan club. This kind of opportunity usually happens when the music bands perform live concerts. M (Music) is the music composition to be clearer and match with the direction of the bands and create the hype in both old and new fan club. | en |
dc.description.abstract | ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่มาจากการประชาสัมพันธ์ของวงดนตรีป๊อปสัญชาติไทยในเขตกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาการรับรู้การประชาสัมพันธ์ของวงดนตรีป๊อปสัญชาติไทยในเขตกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อสร้างแนวทางการประชาสัมพันธ์ของวงดนตรีป๊อปโดยใช้สื่อสมัยใหม่ กรณีศึกษา วงดนตรีป๊อปสัญชาติไทยในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทำการศึกษาในลักษณะของการวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Method Research) โดยเป็นการบูรณาการระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ โดยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เชิงลึกวงดนตรีที่ประสบความสำเร็จจากการประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อสมัยใหม่จำนวน 4 วง โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง และในส่วนของเชิงปริมาณได้ทำการเก็บข้อมูลเชิงสำรวจโดยการเก็บข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มผู้ฟังเพลงป๊อปในเขตกรุงเทพมหานครจำนวน 400 ราย ด้วยวิธีการเลือกแบบสุ่ม โดยใช้ตารางสำเร็จรูปของ Taro Yamane สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ ผู้วิจัยได้แจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Diviation) และทำการทดสอบสมมติฐานโดยใช้เทคนิควิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) และการค้นหาปัจจัยสำคัญเพื่อใช้ในการกำหนดกลยุทธ์ด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) จากผลการวิจัยได้นำไปสร้างเป็นกลยุทธ์เพื่อเป็นการพัฒนาแนวทางการประชาสัมพันธ์ของวงดนตรีป๊อปโดยใช้สื่อสมัยใหม่ กรณีศึกษา วงดนตรีป๊อปสัญชาติไทยในเขตกรุงเทพมหานคร คือ กลยุทธ์ “COM” ประกอบไปด้วย C (Content) หมายถึง การสร้างเนื้อหาที่ตรงกับความสนใจและสื่อสารให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย O (Opportunity) หมายถึง การค้นหาโอกาสต่าง ๆ เพื่อรักษากลุ่มผู้ฟังเดิมของศิลปิน และการออกไปค้นพบกับกลุ่มผู้ฟังเพลงที่จะกลายเป็นกลุ่มใหม่ในอนาคตโดยจะเน้นไปที่การแสดงดนตรีสด M (Music) หมายถึง การสร้างสรรค์ผลงานเพลงให้มีความชัดเจน เหมาะสมกับทิศทางที่วงกำหนดไว้และก่อให้เกิดความชอบในกลุ่มผู้ฟังเพลงทั้งกลุ่มเก่าและกลุ่มใหม่ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ดนตรีป๊อป | th |
dc.subject | วงดนตรีป๊อป | th |
dc.subject | กลุ่มผู้ฟัง | th |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | th |
dc.subject | pop music | en |
dc.subject | pop music band | en |
dc.subject | listener | en |
dc.subject | public relation | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | GUIDELINES FOR PUBLIC RELATION BY NEW MEDIA FOR POP BAND : CASE STUDY THAI POP BAND IN BANGKOK | en |
dc.title | แนวทางการประชาสัมพันธ์ของวงดนตรีป๊อปโดยใช้สื่อสมัยใหม่กรณีศึกษา วงดนตรีป๊อปสัญชาติไทยในเขตกรุงเทพมหานคร | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631020014.pdf | 4.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.