Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRakaya JUNLAWAKANANONen
dc.contributorเรขญา จุลวรรคนานนท์th
dc.contributor.advisorPRAPON PREMTHONGSUKen
dc.contributor.advisorประพล เปรมทองสุขth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2023-02-09T02:38:11Z-
dc.date.available2023-02-09T02:38:11Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4206-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis Article aimed to study (1) perceived usefulness, perceived ease of use, perceived risk to use, attitude and actual to use (2) influence of perceived usefulness, perceived ease of use and perceived risk to use affecting attitude and (3) influence of attitude affecting actual to use. The research model is quantitative research. Use the concept of technology acceptance model perceived risk to use as a research framework. Research area is Nakhon Pathom Province. The sample was 300 small entrepreneurs, use a quota selection method. The total reliability value was 0.908. The study of the relationship between the variables found that all the variables were related and no problem Multicollinearity. The research tools were questionnaires. Analysis data by frequency, percentage, mean, standard deviation, and structural equation modeling. The research results were found as follows; sample group mostly women, age between 31-40 years old, marital status, bachelor's degree, average monthly income is 15,001-25,000 baht (1) level of perceived usefulness, perceived ease of use, perceived risk to use, attitude at a high level and actual to use at moderate level (2) perceived usefulness, perceived ease of use and perceived risk to use influential to attitude and (3) attitude influential to actual to use. Findings were guidelines for the development of mobile banking applications To meet the needs and satisfaction of the customers as much as possible.en
dc.description.abstractบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการรับรู้ประโยชน์ในการใช้ การรับรู้ความง่ายในการใช้ การรับรู้ความเสี่ยงในการใช้  ทัศนคติ และการใช้บริการ 2) อิทธิพลของการรับรู้ความง่ายในการใช้ การรับรู้ประโยชน์ในการใช้ และการรับรู้ความเสี่ยงในการใช้ ที่มีต่อทัศนคติ และ3) อิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อการใช้บริการ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แนวคิดเกี่ยวกับการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศ และการรับรู้ความเสี่ยงในการใช้ เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัย คือ จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการรายย่อย จำนวน 300 คน ใช้วิธีคัดเลือกแบบโควตา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ มีค่าเท่ากับ 0.908 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่า ตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์กัน และไม่เกิดปัญหา Multicollinearity วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี มีสถานภาพสมรส มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-25,000 บาท 1) ระดับความคิดเห็นของการรับรู้ประโยชน์ในการใช้ การรับรู้ความง่ายในการใช้ การรับรู้ความเสี่ยงในการใช้  ทัศนคติ อยู่ในระดับมาก และการใช้บริการ อยู่ในระดับปานกลาง 2) การรับรู้ความง่ายในการใช้ การรับรู้ประโยชน์ในการใช้ และการรับรู้ความเสี่ยงในการใช้ มีอิทธิพลต่อทัศนคติ และ3) ทัศนคติมีอิทธิพลต่อการใช้บริการ ข้อค้นพบ แนวทางในการพัฒนาการให้บริการแอพพลิเคชั่นเกี่ยวกับโมบายแบงก์กิ้ง เพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของกลุ่มลูกค้าได้มากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการรับรู้ประโยชน์ในการใช้th
dc.subjectการรับรู้ความง่ายในการใช้th
dc.subjectการรับรู้ความเสี่ยงในการใช้th
dc.subjectทัศนคติth
dc.subjectการใช้บริการth
dc.subjectPerceived usefulnessen
dc.subjectPerceived ease of useen
dc.subjectPerceived risk to useen
dc.subjectAttitudeen
dc.subjectActual to useen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleCAUSAL RELATIONSHIP FACTORS AFFECTING BUALUANG MBANKIMG USING OF SMALL ENTREPRENEUR IN MUANG DISTRICT, NAKHON PATHOMen
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการแอปพลิเคชั่นบัวหลวง เอ็มแบงก์กิ้ง ของผู้ประกอบการรายย่อย ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621220042.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.