Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNantinee BOONYAPRAROPCHAIen
dc.contributorนันทินี บุญยปรารภชัยth
dc.contributor.advisorPrapon Premthongsuken
dc.contributor.advisorประพล เปรมทองสุขth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2023-02-09T02:38:13Z-
dc.date.available2023-02-09T02:38:13Z-
dc.date.issued25/11/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4223-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this study is (1) The level of perceived risk, trust, perceived efficiency, attitude and consumers purchase intention to buying online products of generation baby boomers and generation x (2) Perceived risk and trust to had an influence on attitude. And (3) attitude and perceived efficiency had an influence on consumers purchase intention to buying online products of generation baby boomers and generation x, by investigating the sample were 400 people in the baby boomer generation and generation x (people born 1946 – 1980) in Bangkok and metropolitan region and its vicinity who used to buying online products.This research uses the questionnaire as a tool to study and the present description by using frequency, percentage, mean, standard deviation and test hypothesis with a structural equation model.  The result showed that perceived risk in the high level (Mean = 3.57), trust in the high level (Mean = 4.20), perceived efficiency in the high level (Mean = 3.96), attitude in the high level (Mean = 4.03) and purchase intention in the high level (Mean = 4.25) and The research hypothesis test illustrated that perceived risk had no influence on buying online products attitude at statistically significant level 0.01. Trust had an influence buying online products attitude at statistically significant level of 0.001. Attitude and  perceived efficiency had an influence purchase intention to buying online products at statistically significant level 0.05 and 0.001, respectivelyen
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจ การรับรู้ประสิทธิภาพ ทัศนคติและความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ (2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความเสี่ยง ความไว้วางใจที่มีต่อทัศนคติในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และ (3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของทัศนคติในการซื้อสินค้าออนไลน์และการรับรู้ประสิทธิภาพที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์และเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ (ผู้ที่เกิด พ.ศ. 2489 – 2523) ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ซื้อสินค้าออนไลน์ จำนวน 400 คน เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ วิเคราะห์และอธิบายผลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นของการรับรู้ความเสี่ยงอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.57) ความไว้วางใจอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 4.20) การรับรู้ประสิทธิภาพอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.96) ทัศนคติอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 4.03) และความตั้งใจซื้ออยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 4.25) และการรับรู้ความเสี่ยงไม่มีอิทธิพลต่อทัศนคติในการซื้อสินค้าออนไลน์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 แต่ความไว้วางใจมีอิทธิพลต่อทัศนคติในการซื้อสินค้าออนไลน์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.001 ส่วนทัศนคติและการรับรู้ประสิทธิภาพมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และ 0.001 ตามลำดับth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการรับรู้ความเสี่ยงth
dc.subjectความไว้วางใจth
dc.subjectทัศนคติth
dc.subjectการรับรู้ประสิทธิภาพth
dc.subjectความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์th
dc.subjectPerceived risken
dc.subjectTrusten
dc.subjectPerceived efficiencyen
dc.subjectAttitudeen
dc.subjectPurchase intentionen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleA Casual Relationship Model of Factors affecting the intent of buying online products of Generation Baby Boomers and Generation X consumers  Bangkok and metropolitan regionen
dc.titleโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเบบี้บูมเมอร์ และ เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631220057.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.