Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThisinaporn PAMORNSOOTen
dc.contributorฐิศิณาภรณ์ ภมรสูตรth
dc.contributor.advisorSakdipan Tonwimonraten
dc.contributor.advisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-03T06:48:18Z-
dc.date.available2023-08-03T06:48:18Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4284-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1) Human Resource Management Under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 2) Effectiveness of school under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 3) The relationship between human resource management and school effectiveness Under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1. The sample group was 79 schools under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1. The tool used for collecting data was an opinionnair based on Dessler’s concept, for effectiveness of school based on Lunenburg and Ornstein’s concept. The statistics used were analyzed by using the calculation of frequency, percentage, and middle arithmetic standard deviation and Pearson's correlation coefficient. The results of this research were as follow : 1. Human resource management in educational institutions Under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 was the highest level when considering each aspect, it was found that it was at the highest level of 7 items. The arithmetic mean ranking from maximum to minimum were as follows; Appraisal Performance, Personnel Planning and Recruitment, Managing Careers and Fair Treatment, Compensating Employees, Managing Labor Relations and Collective Bargaining, Testing and Selecting Employees, Training and Developing Employees and Protecting and  it was a high level of 1 items, Safety and Health. 2. Effectiveness of school under the Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 was the highest level when considering each aspect, it was found that was the highest level in all aspects. The arithmetic mean ranking from maximum to minimum were as follows; Positive home-school relations, instruction leadership, High time on task, A safe and orderly environment, A clear school mission, A climate of high expectation and Frequent monitoring of student progress 3. The relationship between human resource management and effectiveness of school under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1, were medium correlation, with significantly at .01en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 จำนวน 79 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตามแนวคิดของแกลี่ เดสเลอร์ (Gary Dessler) และประสิทธิผลของสถานศึกษา ตามแนวคิดของลูเนนเบิร์กและออสเตน (Lunenburg and Ornstein) สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 7 ข้อ โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนและการสรรหาบุคคล การจัดการอาชีพและการปฏิบัติที่เป็นธรรม  การจ่ายค่าตอบแทนให้กับพนักงาน  การจัดการแรงงานสัมพันธ์และการเจรจาต่อรองร่วม การทดสอบและการคัดเลือกพนักงาน และอยู่ในระดับมาก จำนวน 1 ข้อ ได้แก่ ฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับผู้ปกครอง มีภาวะผู้นำทางวิชาการ ทุ่มเทเวลาในการทำงาน สภาพแวดล้อมเป็นระเบียบและปลอดภัย พันธกิจของโรงเรียนมีความชัดเจน มีบรรยากาศของความคาดหวังที่สูง  และมีการตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง ในลักษณะคล้อยตามกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารทรัพยากรมนุษย์th
dc.subjectประสิทธิผลth
dc.subjectHUMAN RESOURCE MANAGEMENTen
dc.subjectSCHOOL EFFECTIVENESSen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE RELATIONSHIP BETWEEN HUMAN RESOURSE MANAGEMENT AND EFFECTIVENESS OF SCHOOL UNDER CHUMPHON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSakdipan Tonwimonraten
dc.contributor.coadvisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.emailadvisorsakdipan55@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorsakdipan55@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61252311.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.